โนเกีย - ไมโครซอฟท์ เสือลำบากกำลังจะติดปีก
โนเกียและไมโครซอฟท์ประกาศแผนกลยุทธ์ความร่วมมือผนึกรวมความแข็งแกร่งและความเชี่ยวชาญของทั้งสองบริษัท เพื่อร่วมกันสร้างระบบนิเวศของโลกสื่อสารระดับโลกในรูปแบบใหม่
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 24 กุมภาพันธ์ 2554)
วินโดวส์ไลฟ์ปรับโฉม กำจัดจุดอ่อน “อีเมล”
เหมือนจะรู้ว่าการมาของเฟซบุ๊กในสมรภูมิการให้บริการอีเมลจะสร้างความเปลี่ยนแปลงให้ผู้ใช้อีเมลทั้งโลก ไมโครซอฟท์จึงได้ขยับปรับโฉม “วินโดวส์ไลฟ์” ทั้งฮอตเมลและเมสเซนเจอร์ ด้วยการกำจัดจุดอ่อนที่เกิดขึ้นของผู้บริโภคอีเมลที่กำลังรู้สึกเป็นภาระอย่างมากจากปริมาณที่มากเกินไปของการรับอีเมลและเครือข่ายสังคมออนไลน์
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 พฤศจิกายน 2553)
BIG CHANGE 5 ที่สุดแห่งปี
แบล็กเบอร์รี่ 3G ทวิตเตอร์ วินโดวส์ 7 และโน้ตบุ๊กบางเบา คือ 5 ที่สุดแห่งปีที่เป็น "BIG CHANGE" อย่างแท้จริง เพราะทั้งหมดไม่เฉพาะแต่เปลี่ยนแปลงตลาดครั้งใหญ่ครั้งใหม่กับการแจ้งเกิดในตลาดเมืองไทย แต่ยังเป็นการสร้างพฤติกรรมและไลฟ์สไตล์รูปแบบใหม่ให้กับผู้บริโภคด้วย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 5 มกราคม 2553)
ปฏิบัติการหมายเลข '7' พลิกโฉมตลาดคอมพ์ทั่วโลก
- ตลาดคอมพิวเตอร์ทั่วโลกกำลังตื่นเต้นกับวินโดวส์เจเนอเรชั่นใหม่จริงหรือ
- เลข '7' จะเปลี่ยนวิถีการใช้งานคอมพ์ของผู้ใช้ทั้งโลกได้อย่างไร
- กระบวนการล้างหน้าจอระบบปฏิบัติการแบบเดิมสู่เวอร์ชั่นล่าสุดจะสัมฤทธิผลหรือไม่
- การเปลี่ยนแปลงครั้งใหม่จาก 'ไมโครซอฟท์' ที่ต้องจับตาอย่างใกล้ชิด
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 2 พฤศจิกายน 2552)
ทัพ "ออนไลน์" สู่ "โมบาย"เปิดศึกชิงเจ้าธุรกิจยุคใหม่
- ทัพออนไลน์เคลื่อนพลสู่ตลาดโทรศัพท์เคลื่อนที่เต็มตัว
- สร้างประสบการณ์ใหม่โลกโมบายไม่ต้องรอยุค 3จี แจ้งเกิด
- ขาใหญ่ ไมโครซอฟท์ ยาฮู กูเกิล เปิดศึกชิงเจ้าสังเวียนผู้นำธุรกิจยุคใหม่
- จับตาไมโครซอฟท์ผุด "เอ็มเอสเอ็น โมบาย" ตีตลาดมือถือไทยโดยเฉพาะ
- หลัง "เอ็มเอสเอ็น" ไทยประสบความสำเร็จจนคนไทยติดอันดับ 9 ของโลกออนไลน์
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 9 กรกฎาคม 2550)
โค้ก-ไมโครซอฟท์- ซิตี้แบงก์ ยังครองท็อปแบรนด์
ผลการสำรวจครั้งใหม่โดยแบรนด์ ไฟแนนซ์ ที่ปรึกษาแบรนด์อิสระในอังกฤษระบุว่า แบรนด์ที่ทรงคุณค่าในสายตาของลูกค้ามากที่สุด ยังตกเป็นของแชมป์เก่าอย่างโคคา-โคล่า ด้วยมูลค่ากว่า 4.3 หมื่นล้านดอลลาร์ ส่วนอันดับสอง เป็นของยักษ์ใหญ่วงการคอมพิวเตอร์อย่างไมโครซอฟท์ มูลค่าแบรนด์กว่า 3.7 หมื่นล้านดอลลาร์ และสถาบันการเงินชั้นนำ ซิตี้แบงก์ที่มูลค่าด้อยกว่าเล็กน้อย เป็น 3.5 หมื่นล้านดอลลาร์
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 4 เมษายน 2550)