Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Profile Photo

industry
company
people
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ5  
Positioning11  
ผู้จัดการรายวัน12  
ผู้จัดการรายสัปดาห์5  
Total 28  

Listed Company
Manager Lists
 
People > นิวัตต์ จิตตาลาน


ผู้จัดการรายสัปดาห์ (1 - 5 of 5 items)
"เคทีซี"หยุดเกมรุกตั้งรับมือเศรษฐกิจฟุบฉวยโอกาสฝรั่งล้มเลื่อนจับ"ลูกค้าไฮโซ" "เคทีซี"ยึดเสาหลักตั้งมั่นหยุดเดินเกมรุก ลดอัตราการขยายตลาดบัตรเครดิต แม้จะเห็นช่องทางในการสร้างรายได้เข้ากระเป๋าเพิ่มขึ้นก็ตาม โดยเฉพาะความอ่อนแอของผู้ประกอบการในธุรกิจเดียวกันแต่ต่างสายเลือดที่ได้รับผลกระทบจากความง่อนแง่นของบริษัทแม่ในต่างแดนที่โดนพิษวิกฤตการเงินสหรัฐเข้าเล่นงานเต็มๆ งานนี้เคทีซีแค่ฉวยจังหวะเหมาะเข้าเจาะตลาดกลุ่มลูกค้าไฮโซ ขณะที่พอร์ตลูกค้าระดับกลางยังไม่ทิ้งเน้นเกมดูแลด้วยโปรโมชั่นจูงใจ เพื่อรักษาฐานพอร์ตเดิมไว้อย่างมั่นคง(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 8 ธันวาคม 2551)
"KTC"ประจันหน้า"ไทยพาณิชย์" "งัดข้อ"ชิงขุมทรัพย์"บัตรเครดิต" " KTC" ยอมรับผลวิจัย ยังมีปัญหาจุดชำระเงินไม่สะดวกเพียงพอจะรองรับฐานลูกค้าในมือกว่า 1.46 ล้านราย ต้องวางระบบซอฟท์แวร์รุ่นใหม่ ขยายไปในสาขาแบงก์พันธมิตร กว่า 1 พันจุด ออกแรงต้าน "แบงก์ใบโพธิ์" ในฐานะเจ้าของบัลลังก์แชมป์ ที่ใช้เวลาช่วงสั้นวิ่งแซงหน้าไปไกลหลายช่วงตัว แถมอิมพอร์ตคนจาก "ยูนิลีเวอร์" เข้ามาปูรากฐานลูกค้าแบงก์ ที่มีบัญชีมากกว่า 9.5 ล้านราย ผ่านแคมเปญไม้ตาย "ชีวิตดับเบิ้ล".... ขณะที่ KTC เลือกใช้แนวคิด " KTC is real" ...ของแท้ไม่จัดฉาก... "แบงก์ใบโพธิ์" ที่กำลังสลัดภาพ "นายแบงก์ศักดินา" ก็กำลังเดินเกมด้วย คอนเซ็ปท์ "บัตรที่ลูกค้าต้องคิดถึงอยู่ตลอดเวลา" เพื่อช่วงชิง "ขุมทรัพย์" บัตรเครดิต ตลาดที่ทุกแบงก์ต่างก็จดจ้องจะใช้ฐานลูกค้าเป็นตัวพลิกเกมการตลาด...(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 3 ธันวาคม 2550)
"พาร์ตเนอร์ชิป - อินเตอร์แอดทีฟ"2 กลยุทธสร้างทางรอด สู่ ทางรุ่ง ของสื่อวิทยุ การแข่งขันอันดุเดือดของธุรกิจวิทยุไม่เคยมีวันหยุดนิ่ง สื่อที่เคยมีความสำคัญเพียงแค่เศษงบประมาณที่หลงเหลือแบ่งมาใช้ซื้อสปอตวิทยุหลักร้อย กลับกลายเป็นสื่อเด่นที่มีการสร้างคาแรคเตอร์ของแต่ละคลื่น เพื่อจับกลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน จนเป็นที่สนใจจากเจ้าของสินค้า ดึงราคาสปอตวิทยุคลื่นดัง ๆ ขึ้นมาอยู่ในระดับหลักพัน เกิดเป็นการแข่งขันชิงผู้ฟังด้วยกลยุทธแจกแหลกตั้งแต่บ้านหลังโตราคาแพง รถยุโรปคันหรู จนถึงทริปท่องโลก จนมาถึงวันนี้เมื่อความตกต่ำครอบคลุมสื่อวิทยุมานานกว่าปี คลื่นวิทยุก็กลับมาแข่งขันกันด้วยกลยุทธที่แตกต่างออกไป คือ "พาร์ทเนอร์ชิพ" ความร่วมมืออันแข็งแกร่งในการเดินหน้าฝ่าสถานการณ์ตกต่ำ และ "อินเตอร์แอคทีฟ" เทคโนโลยีที่สร้างศักยภาพในการเข้าถึงผู้ฟัง ที่จะทำให้วิทยุยังคงเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพตลอดไป(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 9 กรกฎาคม 2550)
เครื่องมือสื่อสารการตลาดใหม่…สไตล์เรียลิตี้โชว์ *กระแสเรียลิตี้ โชว์ ยังร้อนไม่เลิก... *เพียงแต่คราวนี้ไม่ใช่แค่เป็นรายการสร้างความบันเทิงผ่านหน้าจอโทรทัศน์เท่านั้น.. * กลับกลายเป็นเครื่องมือสื่อสารการตลาดใหม่... *หลายสินค้าต้องควักกระเป๋าสร้างเรียลิตี้ โชว์ ของตนเองขึ้นมาด้วยคน(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 10 กรกฎาคม 2549)
"เคทีซี"เครียดต้นทุนระดมทุนพุ่ง เจ้าของบัตรเตรียมรับมือดอกเบี้ยวิ่ง ชั่วโมงที่เงินเฟ้อกระโดดสูง การฉีด "ยาขม" เพื่อสยบเงินเฟ้อ โดยการออกแรงบีบให้ธนาคารต้องปรับขึ้นอัตราดอกเบี้ย นัยหนึ่งเพื่อดูดซับเงินออม เป็นการช่วยชีวิตเจ้าของเงินฝาก แต่อีกมุมหนึ่งกราฟที่วิ่งขึ้นของอัตราดอกเบี้ยก็กำลังกลายเป็น "ยาพิษ" สำหรับภาคธุรกิจที่พึ่งพาเม็ดเงินจากการกู้เงินหรือระดมทุนมาขยายธุรกิจ เหมือนที่กำลังจะเกิดกับ "บัตรเครดิต"...(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 28 ตุลาคม 2548)

Page: 1





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us