ได้เวลาปรับทัพ 'โลว์คอสต์' หลังยอดนักท่องเที่ยวหายเพียบ!...
กระแสความร้อนแรงของตลาดโลว์คอสต์แอร์ไลน์ปัจจุบันเริ่มอ่อนตัวลง หลังจากสายการบินหลายค่ายพร้อมใจปรับทัพรับศึกช่วงโลว์ซีซันที่ผ่านมา ส่งผลให้ภาพรวมการแข่งขันของโลว์คอสต์ในประเทศไทยจำเป็นต้องลดจำนวนเที่ยวบินลงอย่างเห็นได้ชัด หรือบางเส้นทางก็ถูกยกเลิกไปอย่างไม่มีกำหนด
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 28 กันยายน 2552)
เจาะกลยุทธ์ 'โลว์คอสต์' ยุคท่องเที่ยวขาลง
ในช่วงเศรษฐกิจขาลงแบบนี้ การท่องเที่ยวมักถูกเป็นตัวเลือกอันดับต้นๆในการตัดทิ้งออกไปสำหรับค่าใช้จ่ายของคนส่วนใหญ่ ส่งผลทำให้ผู้ประกอบการทุกธุรกิจท่องเที่ยวต่างงัดสารพัดกลยุทธ์เพื่อจูงใจให้นักท่องเที่ยวกลับมาเดินทางท่องเที่ยวกันอีกครั้ง และสูตรสำเร็จที่ผู้ประกอบการนิยมนำมาใช้คงจะหนีไม่พ้นเรื่องของการลดราคาสินค้าทางการท่องเที่ยว!!
(ASTVผู้จัดการรายสัปดาห์ 8 มิถุนายน 2552)
'ดอนเมือง'แข่งเดือด นกแอร์ VS วัน-ทู-โก
ความพยายามปรับโฉมการตลาดให้มีบริการคิดแบบนอกกรอบออกมาอย่างต่อเนื่องของสายการบินนกแอร์นั้นโดยช่วงที่ผ่านมาการจัดโปรโมชั่น 'ทุกเที่ยวบินมีรอยยิ้ม' เมื่อซื้อตั๋วเครื่องบินในทุกเส้นทางบินภายในประเทศราคาประหยัด แต่มีเงื่อนไขคือต้องเข้าไปที่เว็บไซด์ของนกแอร์เท่านั้นได้สร้างแรงกระตุ้นให้มีคนเข้าไปใช้บริการของสายการบินนกแอร์เป็นจำนวนไม่น้อย ส่งผลให้ผลประกอบการของ นกแอร์ ในขณะนี้นั้น ตั้งแต่ปลายปี 2551 ที่ผ่านมานั้น พบว่า นกแอร์ มีผลประกอบการที่มีกำไรมาตลอด โดยในช่วงต้นปี 2552 สายการบินนกแอร์มีกำไรแล้วประมาณ 40 ล้านบาท
(ASTVผู้จัดการรายสัปดาห์ 4 พฤษภาคม 2552)
“โลว์คอสต”ปีฉลู...สู้ยิบตา...งัดสารพัดกลยุทธ์กระตุ้นนักท่องเที่ยว
กลเกมการตลาด “โลว์คอสแอร์ไลน์”ช่วงต้นปีวัวดูจะคึกคักขึ้นมาอีกครั้ง เมื่อไทยแอร์เอเชีย นกแอร์ และวันทูโก พยายามเปิดศึกช่วงชิงลูกค้าด้วยการสรรหากลยุทธ์ออกมาหวังกระตุ้นให้ตลาดตื่นตัว ซึ่งนับจากนี้เป็นต้นไปภาพการแข่งขันของธุรกิจการบินต้นทุนต่ำน่าจะมีออกมาเป็นระยะอย่างต่อเนื่องไปจนถึงปลายปี
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 มกราคม 2552)
“ไฮซีซัน”ไทยคึกคัก แอร์ไลน์ไทย-เทศ งัดข้อสุดฤทธิ์
ตั้งแต่ต้นปี2551 เป็นต้นมาตัวเลขการปรับลดเที่ยวบินลงของสายการบินในประเทศเพิ่มขึ้นทุกเดือนโดยเฉพาะสายการบินต้นทุนต่ำ(โลว์คอสต์แอร์ไลน์)กำลังบ่งบอกถึงทิศทางธุรกิจในอนาคตอาจจะเดินต่อไปค่อนข้างจะลำบาก แม้ว่าจะมีการปรับราคาตั๋วโดยสารเพิ่มขึ้นก็ตาม เชื่อกันว่าขนาดของธุรกิจสายการบินโลว์คอสต์ ไม่น่าจะมีการขยายตัว หรือเกิดสายการบินโลว์คอสต์ใหม่ขึ้นมาอย่างแน่นอน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 1 กันยายน 2551)
แอร์ไลน์เขย่าราคาสู้ศึกสงกรานต์ปีชวด
สงกรานต์ปีนี้จะหนีร้อนไปต่างจังหวัด หรือเดินทางมาร่วมสนุกสาดน้ำในกรุงเทพฯก็ไม่ต่างกัน เพราะในทุกๆปีช่วงเทศกาลแบบนี้จะมีนักท่องเที่ยวเดินทางค่อนข้างสูง จากสถิตนักท่องเที่ยวเมื่อปี 50 ทีผ่านมาพบว่ามีมีนักท่องเที่ยวเดินทางไปเที่ยวต่างจังหวัดในช่วงวันหยุดสงกรานต์ส่วนใหญ่ร้อยละ 84.8 เดินทางไปเที่ยวกันเอง และร้อยละ 15.2 มักซื้อรายการนำเที่ยวเดินทางในลักษณะกรุ๊ปทัวร์ไปกับบริษัทนำเที่ยว
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 31 มีนาคม 2551)
ศึกสายเลือด “บินไทย” สยบ “นกแอร์”…เขย่าธุรกิจโลว์คอสแอร์ฯสะเทือน
ใครจะคิดว่าพี่ใหญ่อย่างการบินไทยจะยอมดัมพ์ราคาตั๋วเส้นทางภายในประเทศ 11 จังหวัดลงมา 50%ขนาดนี้ ส่งผลต่อสายการบินโลว์คอสที่จับตลาดภายในประเทศอย่างมากและต้องเร่งปรับกลยุทธ์กันพัลวันแบบหลีกเลี่ยงไม่ได้แม้แต่น้องเล็กสายเลือดเดียวกันอย่าง นกแอร์ ยอมรับว่าทำอย่างนี้มีแต่ตายกับตาย ขณะที่"วัน-ทู-โก" ยอมถอย เตรียมลดเที่ยวบินบางเส้นทาง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 9 กรกฎาคม 2550)
ผ่าแผนธุรกิจแอร์ไลน์…ปฏิบัติการยึดน่านฟ้าในประเทศ
ในที่สุด “ดอนเมือง”ก็เปิดให้บริการอีกครั้ง เส้นทางบินในประเทศกว่าครึ่งถูกย้ายมาอยู่ที่นี่ ขณะที่ธุรกิจการบินต่างเร่งปรับแผนกลยุทธ์
หวังสร้างแบรนด์ไทยให้เกิดขึ้นบนสนามบินแห่งนี้
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 9 เมษายน 2550)
โลว์คอสแอร์ไลน์ปรับทัพรับท่องเที่ยวไฮซีซั่น
การเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ทางการตลาดของสายการบินเริ่มมีให้เห็นกันมากขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเพิ่มเที่ยวบินไปยังแหล่งท่องเที่ยวต่างๆที่คาดว่าน่าจะมีนักท่องเที่ยวเดินทางเข้าไปเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะจังหวัดกระบี่ ที่ล่าสุดมีสายการบินทั้งในและต่างประเทศเดินทางเข้าไปมากว่า 8 สายการบิน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 27 พฤศจิกายน 2549)
“เน็ทเวิร์คมาร์เกตติ้ง”กลยุทธ์ยันพิษน้ำมันของสายการบิน
ราคาน้ำมันพ่นพิษทำธุรกิจการบินป่วน...ยักษ์ใหญ่เจ้าจำปีสุดทนฝืนใจทำเก๋ออกพีเพดการ์ดโดดมาเล่นราคาฟาดฟันกับโลว์คอสและสายการบินระหว่างประเทศ หวังชิงส่วนแบ่งตลาดไว้ในมือ ขณะที่สายการบินหลายค่ายต่างใช้เน็ทเวิร์คมาร์เกตติ้งร่วมกันเพื่อรักษาฐานลูกค้าเก่าและเพิ่มลูกค้าใหม่...อันหมายถึงขุมทรัพย์ที่ทุกสายการบินต้องรีบไขว่คว้า...แม้จะได้มากหรือน้อยก็ต้องทำ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 พฤษภาคม 2549)