ไฮซีซัน 'สวนสนุก' ปีเสือคึกคัก 'สยามปาร์คซิตี้' เดินเกมรุกชิงตลาด
ธุรกิจสวนสนุกในประเทศไทยแม้จะมีความเคลื่อนไหวที่น้อยมาก เนื่องจากมีข้อจำกัดที่นักท่องเที่ยวไม่สามารถใช้เงินท่องเที่ยวได้ทุกวัน กอปรกับอุปกรณ์เครื่องเล่นที่เปิดให้บริการก็แบบเดิมๆ ซึ่งกว่าจะถึงเวลาเปลี่ยนใหม่ต้องใช้เม็ดเงินลงทุนที่ค่อนข้างสูง ตลอดจนช่วงเวลาในการประกอบติดตั้งที่ยาวนาน
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 15 มีนาคม 2553)
'สวนสยาม'พลิกเกม ปลุกกระแสสวนสนุกไทย
ที่ผ่านมาความเคลื่อนไหวของการแข่งขันธุรกิจการให้บริการความบันเทิงแม้จะไม่หวือหวาเหมือนธุรกิจค้าปลีกทั่วไปก็ตาม ซึ่งน่าจะเกิดจากข้อจำกัดที่ธุรกิจความบันเทิงไม่สามารถใช้เงินท่องเที่ยวได้ทุกวัน กอปรกับมีสินค้าแบบเดิมๆ เปิดให้บริการซึ่งกว่าจะถึงเวลาเปลี่ยนใหม่ก็ต้องใช้เม็ดเงินลงทุนที่ค่อนข้างสูง ตลอดจนช่วงระยะเวลาในการประกอบติดตั้งที่ยาวนาน
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 16 พฤศจิกายน 2552)
ปัดฝุ่น 'สวนน้ำ-ทะเลกรุงเทพ''สวนสยาม'เปิดเกมรุกตลาดนอก
มูลค่าเม็ดเงินประมาณกว่า 1 หมื่นล้านบาทต่อปีที่ไหลเวียนเข้าสู่ธุรกิจสวนสนุกของเมืองไทยผสมกับยอดตัวเลขนักท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้นอีก 10% ในทุกๆปี เชื่อได้ว่าการมีอัตราการยอดรายได้และจำนวนนักท่องเที่ยวเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องเช่นนี้ ส่งผลให้ผู้ประกอบการสวนสนุกในเมืองไทยต้องปรับกระบวนยุทธ์เข้าฟาดฟันกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยเฉพาะจุดขายใหม่ประเภทเครื่องเล่นที่เริ่มเห็นภาพการแข่งขันที่ชัดเจนมากขึ้น
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 11 พฤษภาคม 2552)
สวนสยาม vs ดรีมเวิลด์!สวนหมัดข้ามสนามรบ
ตัวเลขการเติบโตลดลง 5% ของตลาดสวนสนุกในช่วงหนึ่งปีที่ผ่านมา เป็นเสมือนแรงบีบให้ผู้เล่นหลักๆในตลาดอย่าง สวนสยาม และ ดรีมเวิลด์ ต้องพลิกกระบวนรบ ควานหาดีมานด์เพื่อกระตุ้นให้ตลาดที่มีแนวโน้มถดถอยนี้ กลับมามีสีสันอีกครั้ง และนั่นคือเกมรบใหม่ของตลาดสวนสนุกที่มีมูลค่าเกือบหมื่นล้านบาทต่อปี ที่ต่างต้องเร่งปักธงรบเพื่อขอเป็นผู้นำของตลาด....
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 12 พฤษภาคม 2551)
ปฏิบัติการรีแบนด์ดิ้ง “สวนสยาม”ขึ้นแท่นสวนสนุกครบวงจร
แผนธุรกิจของสวนสยาม ตั้งแต่ปีนี้ ไปถึงปี 2551 สวนสยาม ยอมทุ่มทุนกว่า 3,000 ล้านบาท เพื่อปรับปรุงสวนสยาม ทะเล-กรุงเทพฯ ให้เป็นสวนสนุกแบบครบวงจร พร้อมปรับโครงสร้างภายในองค์กร ให้เป็นมืออาชีพอย่างเต็มรูปแบบ สลัดภาพความเป็นบริษัทแบบครอบครัว
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 12 มีนาคม 2550)