"แบรนด์ไทย"เป็นได้ทั้ง"จุดอ่อนจุดแข็ง"ไทยประกันชีวิตโหมสร้างตลาดจากแรงศรัทธา
ถ้าธุรกิจประกันชีวิตเจ้าอื่น จงใจจะใช้ลูกเล่นที่มีสีสัน ในลักษณะตลก ขบขัน สนุกสนาน เพื่อสร้างการจดจำในแบรนด์ เห็นทีหลักการเดียวกันนี้จะใช้ไม่ได้กับ "ไทยประกันชีวิต" เพราะ"ไชย ไชยวรรณ" แม่ทัพแบรนด์ไทยที่เหลืออยู่ ท่ามกลางวงล้อมคู่อริจากโลกตะวันตก เลือกที่จะมองธุรกิจประกันชีวิตเป็นเรื่อง "ซีเรียส" ภาพยนตร์โฆษณาที่ผ่านมาหลายเรื่องจึงค่อนข้างสร้างความสะเทือนใจ และแสดงให้เห็นถึงคุณค่าชีวิต เพราะในขณะที่แบรนด์ไทยเป็นทั้งจุดอ่อนและจุดแข็ง การสร้างตลาดจากความเชื่อและแรงศรัทธา จึงเป็นหนทางและกลยุทธ์หลักที่จะต่อกรกับกองทัพต่างชาติได้อย่างสมน้ำสมเนื้อ...
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 11 กันยายน 2549)
สร้างแบรนด์อิงวัฒนธรรม กลยุทธ์เหนือชั้นครองใจลูกค้าแดนปลาดิบ
จับตาความเคลื่อนไหว 50 สุดยอดแบรนด์ท็อปฮิตในใจชาวญี่ปุ่น จากผลสำรวจประจำปี 2549 ของ Nikkei BP Consulting ที่เช็คความสำเร็จในการสร้างแบรนด์ของแต่ละสินค้าผ่านมุมมองของผู้บริโภคและนักธุรกิจทั้งหลาย โดยผลวิจัยที่ได้จากฟากผู้บริโภคและฝั่งนักธุรกิจจะเป็นตัวให้คำตอบว่า แบรนด์ที่ทรงพลังและมีคุณค่ามากอาจไม่จำเป็นต้องเกิดขึ้นแค่เฉพาะแบรนด์ของสินค้าอย่างเดียวเท่านั้น
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 28 สิงหาคม 2549)
ความสำเร็จของ iPod กรณีศึกษา Blue Ocean
ณ วันที่ iPod ออกวางตลาด ใครเลยจะคิดว่ามันจะขายดีระดับปรากฏการณ์ขนาดนี้ ความสำเร็จของมัน เป็นจุดเปลี่ยนสำคัญต่ออนาคตของ Apple คอมพิวเตอร์ ทุกวันนี้แบรนด์แอปเปิลนั้นเป็นที่รู้จักของผู้บริโภคชาวโลกในวงกว้าง คนที่ได้ใช้ iPod ก็มีแนวโน้มจะ "ลองใช้" ผลิตภัณฑ์อื่น ๆ ของแอปเปิลมากขึ้นไปอีก
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 มิถุนายน 2549)
เซียงเพียงอิ๊ว-ถ้วยทอง--อาม่า รีแบรนด์ เปิดสงครามชิงตลาดหนุ่มสาว
ตลาดยาดม ยาหม่องเดือด เมื่อแบรนด์เก่ารุ่นคุณปู่พร้อมใจกันปัดฝุ่นตัวเองกันอุตลุด หวังจะปรับตัวเข้าหาคนหนุ่มสาว ก่อนถูกโละตกเวทีพร้อมลูกค้ารุ่นเดอะ โดยการแข่งขันเริ่มร้อนระอุขึ้น เมื่อ "ถ้วยทอง" ไม่อาจอยู่เฉย ลุกขึ้นปฏิวัติแบรนด์ เล็งแตกไลน์ยาหม่องน้ำ-ยาดมพลิกภาพโบราณ ชูสินค้าใช้ได้ตั้งแต่เด็กยันผู้สูงอายุ ซึ่งก่อนหน้านี้ เซียงเพียงอิ๊ว ได้ทำการรีเฟรชแบรนด์ ด้วยการแตกแบรนด์ "เบอร์แทรม" ออกมาจับสาวรุ่นใหม่โดยเฉพาะ ขณะที่ยาดม "อาม่า" ชื่อโบราณแต่ชูกลยุทธ์สร้างแบรนด์ผ่านสื่อออนไลน์ หวังกระชากวัยรุกเข้าถึงวัยรุ่น การปรับตัวทั้ง 3 แบรนด์สะท้อนภาพรวมการแข่งขันและทิศทางในตลาดยาหม่องได้เป็นอย่างดี
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 มิถุนายน 2549)
ศึก 2 ด้าน ไทยแบรนด์รับหรือรุกเพื่อความอยู่รอด
- นแพง เงินบาทแข็ง ค่าแรงเพิ่ม สาพัดวิกฤติรุมกระหน่ำ
- ซ้ำยังเผชิญแรงบีบจากคู่แข่งที่ประกบไทยแบรนด์เหมือนแซนวิชต้องต่อสู้ทั้งสินค้าเกรดเอและสินค้าราคาถูก เป็นศึก 2 ด้านที่สาหัสยิ่งนัก
- อเป็นเช่นนี้ สินค้าแบรนด์ไทย โดยเฉพาะรายเล็กที่ไม่แข็งแกร่ง จะฝ่าฟันวิกฤติเช่นนี้อย่างไร
- จะรุกหรือรับ เพื่อให้ตนเองอยู่รอดและเติบโตท่ามกลางสถานการณ์การแข่งขันที่รุนแรงเช่นนี้
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 12 มิถุนายน 2549)
'ทรูคอร์ป' ผนึกยุทธศาสตร์สู่ความเป็นหนึ่ง
- การเดินทางขององค์กรที่พร้อมจะเรียนรู้และยอมรับทุกข้อผิดพลาด
- “ทรูคอร์ป” หยิบแต่ละจิ๊กซอว์ธุรกิจผสานเป็นหนึ่งเดียว ภายใต้ยุทธศาสตร์เพื่อความเป็นหนึ่ง
- วิสัยทัศน์ให้บริการครบวงจรและตอบสนองวิถีคนรุ่นใหม่แบบสุดสุด นำเสนอภายใต้แพกเกจเดียวของความเป็นทรู
- กรณีศึกษาแบรนด์ดิ้ง กว่าจะมาเป็นทรูวันนี้ บางชื่อที่เคยหยิบยกมาใช้ หลายคนอาจจะนึกไม่ถึง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 5 มิถุนายน 2549)
วีรสุ รีแบรนดิ้ง ขยายฐานลูกค้าใหม่
วีรสุ ทุ่ม 10 ล้านบาทรีแบรนดิ้งใหญ่รอบ 30 ปี หวังขยายฐานลูกค้ารุ่นใหม่ พร้อมปรับโพสิชันนิ่งจากไฮเอนด์สู่ไฮแมส ล้างภาพลักษณ์สินค้าราคาแพง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 5 มิถุนายน 2549)
'ไอ-โมบาย' แบรนด์ไทยใส่เกียร์ความคิดอินเตอร์
- คัมภีร์ธุรกิจการจัดการตลาดมือถือแบรนด์ไทย "ไอ-โมบาย"
- 3 วิธีคิดบนหลักการ I ตอบโจทย์ความต้องการลูกค้า Information-Interactive-Individual
- วิธีคิดแน่นหนาแข็งแรงที่นำไปสู่ยอดขาย 1 ใน 5 ของตลาดโทรศัพท์มือถือ
- วิสัยทัศน์ regional brand สร้างความสำเร็จยกกล่องจากโมเดลเมืองไทย
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 22 พฤษภาคม 2549)
ก้าวที่ 3 ดอยคำ จาก Local สู่ Global ถึง Local
-“ดอยคำ” หนึ่งในสินค้าโครงการหลวง กำลังเคลื่อนไหวครั้งใหญ่ ทั้งลอนช์สินค้าใหม่ ทั้งปรับกระบวนกระจายสินค้าให้ถึงมือผู้บริโภคมากขึ้น
-จับตาการเคลื่อนกายร่วม 3 ทศวรรษ จาก Niche สู่ Mass Consumer และ Global Market
-แม้วันนี้ส่วนแบ่งในตลาดไทย-เทศยังน้อย แต่เชื่อว่าในวันหน้า ด้วยจุดขายที่ชัดเจนจะทำให้ ดอยคำ และสินค้าของโครงการหลวงอีกหลายหลากแบรนด์ ผงาดขึ้นมาบนเวทีการแข่งขันได้สำเร็จ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 15 พฤษภาคม 2549)
2 วิธีคิดการสร้างแบรนด์
- กะเทาะเนื้อในของการบริหารจัดการแบรนด์ว่าด้วยศาสตร์แห่งกลยุทธ์
- 2 วิถีสู่การสร้างประสบการณ์ผู้บริโภค เสิร์ฟร้อนๆ ให้อุ่นไปถึงหัวใจ
- "กลยุทธ์แบรนด์ – การแปลงไปสู่แผนปฏิบัติ" เรื่องไม่ยากแต่ก็ทำไม่ง่าย
- หลากเคล็ดลับของการบริหารแบรนด์ เรื่องที่ต้องรู้และสังเคราะห์ให้ได้ ในยุคที่โฆษณากำลังบดบังวิสัยทัศน์การสร้างแบรนด์
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 8 พฤษภาคม 2549)