กระบวนยุทธ์ธุรกิจ:มูลค่าเพิ่มที่ผันแปรของ Super Brand!!!
แบรนด์ของกิจการนั้น ยิ่งโด่งดังเท่าไร ยิ่งสามารถทำเงินและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับธุรกิจได้มากขึ้นเท่านั้น ดังนั้นที่ผ่านมาทุกกิจการจึงพยายามที่จะปลุกปั้นหรือดึงแบรนด์ดังๆคับโลก ให้เข้ามาสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจให้กับกิจการของตน จึงเป็นที่มาของกลยุทธ์สารพัดที่เกี่ยวกับแบรนด์ดิ้งนั่นเอง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 9 กรกฎาคม 2550)
ผ่ากึ๋นฟาสต์ฟู้ดระดับโลก เปิดสูตร 'สร้างแบรนด์' จานด่วน
อีกหนึ่งหนทางสู่ความสำเร็จของการสร้างแบรนด์ เรียนรู้พื้นฐานแนวคิดและวิธีการของแบรนด์ดังระดับอินเตอร์ฯ ที่รายเล็กนำมาปรับใช้ได้ "เคเอฟซี" ฟาสต์ฟู้ดยอดฮิต เปิด 7 องค์ประกอบสร้างธุรกิจยืนยาว แนะธุรกิจใกล้ชิดลูกค้าใส่รายละเอียดและมาตรฐาน-ผูกสัมพันธ์ซัปพลายเออร์-สร้างมิตร
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 มีนาคม 2550)
กระบวนยุทธ์ธุรกิจ: ศาสตร์ลับแห่งแบรนด์รอง
ผลของแบรนด์ที่มีต่อความสำเร็จของกิจการคงเป็นสิ่งที่ไม่กังขากันอีกต่อไป เนื่องจากแบรนด์ที่โด่งดังสามารถช่วยกิจการหารายได้กลับเข้ามาได้ไม่จำกัดทีเดียว ซึ่งก็มาจากผลทางด้านจิตวิทยาที่รุนแรงของแบรนด์ ส่งผลต่อความเชื่อมั่นและความต้องการของลูกค้าทั้งหลายนั่นเอง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 มีนาคม 2550)
กลยุทธ์แบรนด์ใหม่ฝ่าปราการสมรภูมิสีเลือด
แบรนด์ใหม่เปิดตัวช่วงไตรมาสแรกของปีอย่างคึกคัก แถมเลือกลงสมรภูมิที่การแข่งขันดุเดือดชนิดไม่หวั่นเกรงผู้เล่นหน้าเก่า ท้าพิสูจน์กลยุทธ์เซกิ, ซูเปอร์ ซีเชฟ, ชูส, ไนกี้ ว่าจะสามารถฝ่าทะเลเลือด และแจ้งเกิดได้สำเร็จหรือไม่ จับตาแบรนด์ใหม่ในตลาดเมืองไทยจะล้นทะลัก และหลากหลายกลุ่มเหมือนตลาดในประเทศ รวมทั้งจะเข้ามาสร้างสีสัน-ความคึกคักให้ตลาดบ้านเรามากน้อยเพียงใด
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 มีนาคม 2550)
กูรูไขสูตรเด็ด ‘บริหารชื่อเสียง’แก้วิกฤต ขึ้นแท่นองค์กรชั้นนำ
๐ จะแก้ไขอย่างไรเมื่อชื่อเสียงที่เคย “ดี” กลับ “เสีย”? ๐ “เดนนิส แอล. วิลค๊อกซ์” ปรมาจารย์ด้านประชาสัมพันธ์ระดับโลกบินตรง ชี้แสงสว่างสู่ทางออกที่ปลายอุโมงค์ ๐ เรียนรู้กลยุทธ์บริหารความเสี่ยงชื่อเสียอย่างได้ผล ในยุคสื่อสารไร้สาย ข่าวร้ายแพร่กระจายเร็วพอๆ กับเชื้อไวรัส ๐ เปิดประสบการณ์จาก “เอ็กโก้” แก้ปัญหาแบบเหนือชั้น ด้าน “ที่ปรึกษาต่างชาติ” สรุปนิสัยคนไทยเหมาะสร้างแบรนด์ไทยด้วยหลักพอเพียง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 12 มีนาคม 2550)
แบรนด์ใหม่โตเพิ่ม 2 เท่าของแบรนด์ดัง
การศึกษาตรายี่ห้อล่าสุดของ Interactive Consumer Data ได้พบว่า โลกของตรายี่ห้อในวันนี้ มีทิศทางของการเปลี่ยนแปลงไปจากอดีตอย่างน่าสนใจ เพราะตรายี่ห้อเอกชนเกิดใหม่ที่มาจากการตั้งชื่อของผู้ประกอบการรายเล็กๆ มีอัตราการเติบโตกว่า 2 เท่าของแบรนด์ที่มีชื่อเสียง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 5 มีนาคม 2550)
3 กูรูจับทางอนาคตเจาะแก่นสร้างแบรนด์แกร่ง
ทำอย่างไรให้แบรนด์เป็นที่หนึ่งในใจกลุ่มเป้าหมาย ? 3 ปรมาจารย์ “วิทวัส ชัยปาณี-ธนา เธียรอัจฉริยะ-ศิริกุล เลากัยกุล” ตบเท้ากระตุ้นนักบริหาร ไล่เรียงจากการสร้างภาพลักษณ์ด้วยการโฆษณาอย่างพอเหมาะพอดี ตามด้วยวิธีการบริหารจัดการอย่างถึงแก่นของผู้นำ พร้อมตอกย้ำการใช้หลักปรัชญาพอเพียงอย่างทันยุค
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 กุมภาพันธ์ 2550)
“ศก.พอเพียง” มาแรง ธุรกิจไทย-เทศใช้ได้ผล
กระแสเศรษฐกิจพอเพียงร้อนแรงสุด ราชการ-เอกชน น้อมนำมาใช้ขับเคลื่อนองค์กร เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน และความยั่งยืนในระยะยาว เปิดแนวทางปฏิบัติ 10 ประการ ของธุรกิจทั้งในและต่างประเทศที่ประสบความสำเร็จ เผยบริษัทชั้นนำที่จัดการเข้าหลักเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมแนวดำเนินงานอย่างละเอียด ไม่ใช่แค่ทฤษฎี แต่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 15 มกราคม 2550)
กระบวนยุทธ์ธุรกิจ:ชุบชีวิต..เสริมพลังสู่แบรนด์
แบรนด์ดิ้ง ยังเป็นประเด็นที่ฮอตฮิตตลอดกาลครับ โดยเฉพาะในยุคที่การแข่งขันพุ่งขึ้นถึงขีดสุด จนกระทั่งความแตกต่างในสินค้าและบริการต่างๆลดน้อยลงทุกที จากการลอกเลียนแบบกันอย่างรวดเร็วนั่นเอง ดังนั้นสิ่งที่จะสร้างความต่างอย่างชัดเจนที่ลูกค้าสังเกตได้ก็คือ แบรนด์ ที่เป็นเอกลักษณ์ของเรานั่นเองครับ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 27 พฤศจิกายน 2549)
'สุวรรณภูมิ' ทำเลทองสร้างแบรนด์ สร้างรายได้
พื้นที่โดยรวม 2.5 หมื่นตารางเมตรและรวมพื้นที่ทางเดินอื่นๆ อีกประมาณ 8,000 ตาราง ในสนามบินสุวรรณภูมิ ที่คิงเพาเวอร์ได้สัมปทานจากการท่าอากาศยาน ถูกสร้างมูลค่าให้กับบริษัทในการจัดสรรพื้นที่สำหรับร้านค้าต่างๆ เข้าเช่าพื้นที่อีกต่อหนึ่งนั้น
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 23 ตุลาคม 2549)