P&G ชวนลูกค้าจัดเรตติ้งเฮดแอนด์โชว์เดอร์
พรอคเตอร์ แอนด์ แกมเบิล หรือพีแอนด์จี เป็นหนึ่งในบริษัทเพียงไม่กี่แห่งในโลกที่กล้าใช้กลยุทธ์ทางการตลาดที่ให้ลูกค้าเข้ามามีปฏิสัมพันธ์กับแบรนด์อย่างลึกซึ้ง ซึ่งผู้ประกอบการจำนวนมากยังไม่กล้าทำแนวนี้
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 21 กันยายน 2552)
แบรนด์เกาหลี ยังล้มเหลว ผสมผสานอารยธรรมกับไฮเทค
ในอดีตความยิ่งใหญ่ของแบรนด์ญี่ปุ่น ต่างสร้างความยอมรับและเกรงขามในระดับนานาชาติทั่วโลก เพราะสามารถบุกไปรุกตลาดในประเทศต่างๆ ทั่วโลก แทบจะไม่เว้นแม้แต่ประเทศเดียว
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 7 กันยายน 2552)
อินเด็กซ์ฯ เดินเกม Personal Branding พาซูเปอร์สตาร์ ต่อยอดให้ซูเปอร์สตาร์
โมเดลธุรกิจ Personal Branding ที่อินเด็กซ์ อีเวนท์ เอเจนซี่ เปิดตัวเมื่อปีที่ผ่านมา ไม่เพียงเป็นธุรกิจใหม่ในประเทศไทยเท่านั้น หากแต่ 2 พี่น้อง เกรียงไกร และเกรียงกานต์ กาญจนะโภคิน ประธานเจ้าหน้าที่บริหารร่วม ยังเชื่อว่า ธุรกิจนี้ไม่เคยเกิดขึ้นมาก่อนในโลก การสร้างแบรนด์ให้กับบุคคลเสมือนเป็นผลิตภัณฑ์ โดยมองหาช่องทางสร้างรายได้จากศักยภาพรอบตัวที่บุคคลนั้นมีอยู่
(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 22 มิถุนายน 2552)
เจาะกลยุทธ์การเปลี่ยน 'โลโก้' 8 แบรนด์ชั้นนำ
* เผยกลเม็ดการใช้กลยุทธ์ 'โลโก้' เพื่อผลักดันแบรนด์ไปสู่ความสำเร็จระดับโลก
* ประมวลสัญลักษณ์ดั้งเดิมตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน คิดอย่างไรถึงเป็นรูปลักษณ์ดังทุกวันนี้
* อ่านการตัดสินใจในเชิงการบริหารการตลาด และตำนานผ่านโลโก้ของหลายแบรนด์ดัง
(ASTVผู้จัดการรายสัปดาห์ 25 พฤษภาคม 2552)
สร้างแบรนด์แบบคิดบวกยุทธวิธี'การสร้างสาวกแบรนด์'ยุคใหม่
แบรนด์ผู้นำ และมวยรอง ปลดล็อกสงครามการตลาด เปิดศึกสร้างความต่าง ด้วยยุทธวิธีการสร้างทัศนคติ (Attitude) ของผู้บริโภค เป็นหัวหอกในการสร้างสาวกแบรนด์ โดยสื่อสารแบรนด์คอนเซ็ปต์ผ่านโฆษณาครบวงจร วางเป้าหมายช่วยสร้างความแตกต่าง สินค้าและแบรนด์ เข้าไปอยู่ในใจผู้บริโภคอย่างยั่งยืน
(ASTVผู้จัดการรายสัปดาห์ 18 พฤษภาคม 2552)
ยุทธการเพิ่มมูลค่าแบรนด์เกาหลีครั้งใหม่ เตรียมสั่นสะเทือนตลาดโลก
เวลาพูดถึงมูลค่าแบรนด์ทางการตลาด (Brand Value) ส่วนใหญ่มักจะมองแบรนด์ในระดับรายสินค้า หรือระดับผู้ประกอบการรายตัวเท่านั้น แต่แนวคิดทางการตลาดใหม่ตอนนี้ มีการพยายามเพิ่มพูนมูลค่าของแบรนด์ใหม่อีกระดับหนึ่งคือระดับประเทศ โดยใช้คำว่า Country's brand value
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 6 เมษายน 2552)
ยกเครื่องใหญ่ “ร้านอาหารไทย”สร้างโมเดล&แบรนด์ไทยโกอินเตอร์
ทำไม?...ธุรกิจร้านอาหารไทยในอดีตที่เคยสร้างรายได้ให้กับผู้ประกอบการเป็นกอบเป็นกำต้องตกอยู่ในสภาพที่ย่ำแย่ในปัจจุบัน หลังเปิดการค้าเสรีของรัฐบาลสมัย พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตรเป็นนายกฯ ว่ากันว่า...การรุกตลาดของธุรกิจร้านอาหารต่างชาติทั้งญี่ปุ่นและอิตาลีคือต้นตอของปัญหาที่ยากจะสะสาง ขณะที่กระแสของรสนิยมบริโภคอาหารต่างชาติมากกว่าอาหารไทยเริ่มมีเพิ่มขึ้น ส่งผลให้สมาคมภัตตาคารไทยต้องออกมาทบทวนบทบาทใหม่ เพื่อประคองธุรกิจร้านอาหารไทยให้อยู่รอดไปได้
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 23 มีนาคม 2552)
แบรนด์ดิ้งสไตล์ SCG Paperแรงบันดาลใจสร้างได้บนกระดาษ
* ตามไปดู..กรณีศึกษากระบวนจัดการ-สร้างแบรนด์ครบเครื่อง
* ทั้งองค์กรภายนอก-ภายในด้วยหลักคิด Inspiration+Innovation
* ชูไอเดีย Green Concept ขานรับกระแสโลกธุรกิจสีเขียว
* สร้างคนเหมือนแบรนด์ ในองค์กรสไตล์เอสซีจี ทำอย่างไร!?
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 12 มกราคม 2552)
แบรนด์ไอทีจากเอเชีย ลดช่องว่างเทียบสินค้าตะวันตก
ในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจที่ตกต่ำและถดถอยทั่วโลก อาจมองว่าเป็นข่าวร้ายและภัยคุกคามการดำเนินงานทางการตลาดของผู้ประกอบการประเภทต่างๆ และบรรดาแบรนด์ในเอเชียนั้น ก็ยังมีโอกาสทางธุรกิจที่ทอดมาให้แก่บรรดาแบรนด์จากเอเชียท่ามกลางมรสุมดังกล่าว และผลักดันให้บรรดาแบรนด์จากเอเชียทั้งหลายมีช่องว่างของการดำเนินงานทางการตลาดลดลง เมื่อเทียบกับบรรดาแบรนด์จากตะวันตกทั้งหลาย ที่ล้วนแต่เป็นบริษัทข้ามชาติขนาดใหญ่และทรงอิทธิพลทางการตลาด
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 5 มกราคม 2552)
12แบรด์ดังพลาดท่า บทเรียนการตลาดที่ล้มเหลว
-การผลิตสินค้าที่ตลาดไม่ต้องการ จนถึงไม่ประเมินจุดเด่นของตัวเอง ทำให้ทั้งแป๊บซี่ และ แมคโดนัลด์ ตายน้ำตื้น
-“แอปเปิ้ล” หนักสุดต้องม้วนเสื่อสินค้าออกไปถึง 4 รายการ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 5 มกราคม 2552)