ปิดฉากวิบากกรรม TT&T ทีโอทีจ่ายเต็ม 23,778 ล้าน
10 ปี วิบากกรรมคดีความ "ทีทีแอนด์ที" ถึงจุดสิ้นสุด หลังอนุญาโตตุลาการชี้ขาด "ทีโอที" ต้องจ่าย 23,778 ล้านบาท บวกดอกเบี้ยตามอายุสัมปทาน หลังเพิกเฉยไม่จ่ายผลประโยชน์ตอบแทนจากการนำบริการอื่นใช้ผ่านโครงข่ายทีทีแอนด์ที ด้านทีโอทีเฉยเตรียมยื่นศาลปกครองสูงสุดช่วยปัญหาเรื่องเงินๆ ทองๆ ระหว่างหน่วยงานของรัฐที่เป็นเจ้าของสัมปทานกับบริษัทเอกชนที่เป็นผู้รับสัมปทานจนต้องให้คนกลางอย่างคณะอนุญาโตตุลาการเข้ามาช่วยพิจารณาหาข้อสรุปว่า ใครถูกใครผิดนั้น มีให้เห็นบ่อยครั้งขึ้น
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 28 เมษายน 2551)
พ.ร.บ.มวยล้ม
ล้วงลึก 3 พ.ร.บ. เจ้าปัญหา ค้าปลีก-น้ำเมา-วิทยุโทรทัศน์ใคร และอะไรเป็นตัวถ่วงทำให้ไม่สามารถใช้เป็นกฎหมายได้สักที ชาตินี้มีโอกาสได้ใช้กันหรือไม่ประกาศ-ไม่ประกาศอย่างไหนดีกว่ากัน หากออกมาจริงใครจะได้รับผลกระทบอย่างเต็มเปา
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 16 กรกฎาคม 2550)
Tax Knowledge:แลกสินค้าหรือให้รางวัลใครได้ใครเสีย
สภาพตลาดของสินค้าในปัจจุบันไม่ค่อยเคลื่อนไหวมากนัก เนื่องจากตัวแปรที่สำคัญคงหนีไม่พ้นภาวะเศรษฐกิจที่ยังมีปัญหายังไม่ลงตัวมากนัก โดยเฉพาะปัญหาทางการเมืองที่มีความไม่แน่นอนทำให้นักลงทุนขาดความมั่นใจในการลงทุนหรือขยายกิจการ ธุรกิจขายสินค้าหรือธุรกิจให้บริการจึงมีการแข่งขันกันค่อนข้างหนักที่จะแย่งชิงลูกค้ามาเป็นของตนเอง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 12 มีนาคม 2550)
กลยุทธ์การตลาด : อนาคตไอทีวี
และแล้วคำพิพากษาชี้ชะตาสถานีโทรทัศน์ไอทีวีก็ออกมาแล้ว 13 ธ.ค. ศาลปกครองสูงสุดได้อ่านคำพิพากษายืนตามคำพิพากษาของศาลปกครองกลาง โดยมีสาระสำคัญสองประการ คือ หนึ่ง ให้ไอทีวีต้องจ่ายค่าสัมปทานกับสำนักปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี (สปน.) ปีละ 1 พันล้านบาท ตามสัญญา และสอง ให้ปรับผังรายการเป็นข่าวสารและสาระประโยชน์ร้อยละ 70 และบันเทิงร้อยละ 30
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 15 มกราคม 2550)
กรณีพิพาก "ทรู-ทีโอที" "ศุภชัย" โต้ไม่เป็นธรรม
บอร์ดทีโอที ไฟเขียวยื่นสำนวนศาลปกครองสั่งโฆฆะมติอนุญาโตฯ ที่ตัดสินให้ทีโอทีต้องจ่ายค่าเสียหายมูลกว่ากว่า 9 พันล้านบาทนับตั้งแต่ปี 2545 ให้ทรู โดยเฉพาะประเด็นประธานอนุญาโตตุลาการ "ประสิทธิ์ โฆวิไลกูล " สัมพันธ์ใกล้ชิดกลุ่มทรู ศุภชัย เจียรวนนท์ บิ๊กบอส "ทรู" ออกโรงโต้ "ทีโอที" ข้อกล่าวหาไม่เป็นธรรม ไร้สัมพันธ์เป็นตัวแทนรักษาผลประโยชน์ "อลิอัลซ์" ไม่ใช่นอร์มินีกลุ่มซีพี
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 8 พฤษภาคม 2549)
บทเรียนทีโอทีพ่ายทรูหมื่นล.เกมยืดเยื้อสะดุดแผนเข้าตลาดฯ
ศึกฟ้องร้องหมื่นล้านทีโอที-ทรู คอร์ปอเรชั่น บานปลาย สถานการณ์เกมยืดเยื้อ สะดุดแผนเข้าระดมทุนในตลาดหลักทรัพย์ของทีโอทีแน่ พร้อมสร้างบรรทัดฐานใหม่ให้กับภาคเอกชนที่มีสัญญาสัมปทานผูกมัดกับภาครัฐเดินหน้าฟ้องร้องอีกเพียบ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 27 กุมภาพันธ์ 2549)
ดีลชินคอร์ป-เทมาเส็ก โมฆะ !?!
อภิมหาดีล 7.3 หมื่นล้านอาจเป็นหมัน เหตุทำผิดเจตนารมณ์ทางกฎหมาย เครือข่ายองค์กรคุ้มครองผู้บริโภคเตรียมยื่นศาลปกครอง ให้ยกเลิกรับจดทะเบียนซื้อขายหุ้น อายัดหุ้นเป็นกรณีฉุกเฉิน วงในชี้เหตุ “ทักษิณ” ยังหวงอำนาจ เพราะหล่นจากตำแหน่งเมื่อไร โดน “เช็คบิล” น่วมวันนั้น เปิดโมเดลเลี่ยงภาษีของภาคเอกชน และตลาดทุนชนิดกฎหมายเอาผิดไม่ได้
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 13 กุมภาพันธ์ 2549)
อนิจจา ! ประเทศไทยใต้อุ้งมือ"ทักษิณ"
แย่แล้ว! ผลพวงดีลชินคอร์ป “ยำเละ” ประเทศอย่างคาดไม่ถึง
จับตาต่างชาติเมิน FTA หันใช้ “ชินคอร์ป-เทมาเส็ก โมเดล” เป็นต้นแบบยึดธุรกิจไทย
ต่อไปองค์กรใหญ่จะถูกฮุบ เหลือแต่ SMEs ที่ยากต่อกรในตลาดโลก
คนไทยยุคต่อไปมีสถานะเพียงแค่ลูกจ้างที่ทำงานเหนื่อยและหนักเหมือนควาย ถูกขูดรีดเม็ดเงินเพื่อประเคนคนชาติอื่น
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 6 กุมภาพันธ์ 2549)
ศึกชิงอำนาจบริหาร'บลูแคนยอน'ยืดเยื้อ
กลายเป็นเรื่องฟ้องร้องกันไม่จบไม่สิ้น สำหรับกรณีของสนามกอล์ฟ บลู แคนยอน คันทรี่คลับ จ.ภูเก็ต สนามกอล์ฟ ขนาด 18 หลุม 2 สนาม บนพื้นที่กว่า 1,800 ไร่ ที่มีชื่อเสียงติดอันดับ 1 ใน 5 ของเอเชีย มูลค่า 8,000 ล้านบาท และมีนักกอล์ฟจากทั่วโลก มาออกรอบกันจนสนามแน่นเกือบทุกวัน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 9 มกราคม 2549)