กระบวนยุทธ์ธุรกิจ: Entrepreneurism: ยุทธวิธีชิงชัยสไตล์ญี่ปุ่น
การเรียนรู้จากความสำเร็จหรือล้มเหลวของธุรกิจที่ผ่านร้อนผ่านหนาวมาก่อน ถือเป็นเทคนิคการศึกษาด้านกลยุทธ์ที่ทรงประสิทธิภาพครับ โดยเฉพะในช่วงที่ผ่านมา กรณีที่เด่นชัดเป็นที่สนใจอย่างมาก คือ การที่ระบบเศรษฐกิจญี่ปุ่น พี่เบิ้มของเอเชีย เรียกว่าพ้นจากความหลับไหลและกลับมาผงาดอย่างสมศักดิ์ศรีได้อีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่ทรงๆทรุดๆมาเป็นเวลานานพอควร
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 กุมภาพันธ์ 2550)
ผนึกกำลังสร้างผลงาน กลยุทธ์ 'ทีมเวิร์ค' ที่ยังเวิร์ค
ทำอย่างไรให้อยู่รอดในยุคข้อมูลข่าวสาร ก่อนแรงงานมนุษย์จะถูกแทนที่ DMG เผย "ทีม" คือคำตอบ สร้างคน-องค์กรที่สมบูรณ์ต้องใช้พนักงานเป็นศูนย์กลาง ผนึกกำลัง PQ-IQ-EQ-SQ ให้เป็นหนึ่ง "ผู้นำ" ต้องคัดเกรดผู้ใต้บัญชา พร้อมเปิดใจ ตรงไปตรงมา การันตีรบร้อยได้ผลงานเกินร้อย "BMW" ชี้ทีมเข้มแข็งอยู่ที่ความแตกต่างที่ลงตัว เปิดกฎแห่งการสร้างทีมที่ได้ทั้งใจได้ทั้งงาน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 กุมภาพันธ์ 2550)
กระบวนยุทธ์ธุรกิจ: Do & Don't กับเคล็ดลับโลยัลตี้โปรแกรม
การดึงดูดลูกค้าให้เข้ามาซื้อสินค้าหรือใช้บริการก็ว่ายากเย็นแล้ว แต่การที่จะเก็บรักษาเขาไว้ ยิ่งยากเย็นยิ่งกว่ามากครับ เนื่องจากปัจจุบันมีสิ่งล่อตาล่อใจมากมาย ลูกค้าส่วนใหญ่ก็พร้อมที่จะไปหาสิ่งอื่นที่มีความน่าสนใจกว่าทันที นั่นคือ ลูกค้าเริ่มมีความภักดีต่อแบรนด์แต่ละแบรนด์ลดน้อยลงทุกวัน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 กุมภาพันธ์ 2550)
ทำ KM ให้ถูกทิศทันกระแสโลกเข้าบริบทไทย
กลางกระแสของการนำหลักของการจัดการองค์ความรู้ในองค์กร (Knowledge Management) หรือ KM ที่กำลังไหลแรงมายังเมืองไทย และหลายองค์กรไม่ว่าขนาดใดก็เริ่มขยับตัว เพื่อไม่ให้ตกยุค จึงไม่ยอมพลาดเครื่องมือตัวนี้ โดยมีแรงจูงใจเป็นผลกำไรงามเบื้องหน้า
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 กุมภาพันธ์ 2550)
กระบวนยุทธ์ธุรกิจ:Customer-led Growth Strategy
สถานการณ์ไม่แน่นอน ทรงๆทรุดๆแบบนี้ ธุรกิจที่หวังจะเติบโตต่อไป คงต้องมีแผนงานที่แยบยลและสร้างความมั่นคงกับกิจการด้วย ซึ่งการจะสร้างความแน่นอนบนความผันแปรแบบนี้ คงหนีไม่พ้นการที่กิจการต้องหา "ฐาน" ให้กับกิจการด้วย ซึ่งในภาวะแบบนี้ คงไม่มีอะไรที่ดีไปกว่าการยึดลูกค้าเอาไว้ให้มั่น และเติบโตไปพร้อมๆกับลูกค้าด้วยครับ นั่นคือ การใช้กลยุทธ์ Customer-led Growth
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 มกราคม 2550)
3 บริษัทใหญ่เผยสูตรแปลงแนวคิดKMสู่การปฏิบัติ
- เปิดกลยุทธ์การสร้างความรู้องค์กรชั้นแนวหน้าระดับโลกที่ไม่ควรพลาด!
- ลับคมการจัดการของ “โตโยต้า”ด้วยหลักJIDOKA+ Kaizen
- “ซีเมนส์” กับแนวคิดเนรมิตรเครือข่ายนวัตกรรม“คลังสมองโลก”
- “เครือซีเมนต์ไทย”เพิ่มดีกรีด้วย KM Center พร้อมล้วงลึกความล้มเหลว
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 มกราคม 2550)
อุดรอยรั่วองค์กรผนึกพลังสร้าง 'KM'
- ตั้งรับกระแสตะวันตกที่แผ่มาถึงเอเชีย และประเทศไทยด้วย “Knowledge Management”
- "ทัศนคติ" ก้างชิ้นใหญ่ ตัวการสำคัญที่จะทำให้การจัดการความรู้ไม่ถึงฝั่ง
- แต่ "CEO" คือบุคคลกองหน้าที่จะตบทุกความคิด วางภาพใหญ่ให้เป็นรูปธรรม
- นักวิชาการแนะบริษัทน้อยใหญ่ ให้หาตัวตน-สำรวจกระเป๋าความรู้-ลงมือปฏิบัติเพื่อผลกำไรสวยงาม
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 มกราคม 2550)
แนวคิดการบริหาร :กลยุทธ์ใหม่ในการแข่งขัน: Decision Analytics
ดูเหมือนว่าความตื่นตัวหรือกระหายใคร่รู้ของผู้บริหารในปัจจุบันต่อแนวคิดหรือวิธีการใหม่ๆ ในการแข่งขันหรือการเติบโต จะกลายเป็นเรื่องปกติไปเสียแล้ว หนังสือหลายเล่มที่พยายามนำเสนอกลยุทธ์ในการแข่งขันด้วยวิธีการใหม่ๆ (เช่น Blue Ocean Strategy) กลายเป็นหนังสือขายดีติดอันดับ แสดงให้เห็นว่าทางเลือกของกลยุทธ์แบบเดิมๆ ที่ใช้กันมานานอาจจะไม่เพียงพอต่อการแข่งขันต่อไปในอนาคต
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 18 มกราคม 2550)
กระบวนยุทธ์ธุรกิจ:ปรับปรุงและปรับเปลี่ยน: เทคนิคแซงหน้าราคาต่ำ
แรงกดดันจากความผันแปรของการแข่งขันด้านราคาจากคู่แข่งขันต้นทุนต่ำ ยังไม่จางหายไปง่ายๆนะครับ นอกจากจะสร้างความโดดเด่นแตกต่าง หรือ สร้างอีกหนึ่งแบรนด์เพื่อเป็นไฟติ้งแบรนด์กับพวกต้นทุนต่ำทั้งหลายแล้ว อีกแนวคิดกลยุทธ์ที่น่าสนใจและได้รับการพิสูจน์ถึงความสำเร็จแล้วก็คือ กลยุทธ์การปรับปรุงและปรับเปลี่ยน (Adjust and Transform) นั่นเอง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 18 มกราคม 2550)
HR แบบพอเพียงฉบับศึกษา 'เครือซิเมนต์ไทย'
*เปิดผลวิจัยการยึดหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้กับธุรกิจ แถมเจาะลึกเป็นกรณีศึกษาด้าน"การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์"
*เปิดโมเดลองค์กรยักษ์"เครือซิเมนต์ไทย"สร้าง-รับ-พัฒนา-รักษาคนอย่างไรตามหลักปรัชญา
*ผู้เชี่ยวชาญแนะทำHRให้พอเพียง ต้องค้นหาตัวเองให้เจอเน้นกระบวนการและทำความเข้าใจ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 15 มกราคม 2550)