กลยุทธ์การตลาด:อีสานเบียร์เหมือนจะ Niche แต่ Mass
ยิ่งใกล้ห้วงยามการเลือกตั้งปลายปี 50 สมรภูมิภาคอีสานนั้นก็ระอุขึ้นเรื่อย ๆ ทว่าไม่เพียงแต่เฉพาะสมรภูมิทางการเมืองเท่านั้น ในสงครามการตลาดของสินค้าต่างๆ ก็รุนแรง โดยเฉพาะในตลาดเบียร์
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 10 ธันวาคม 2550)
สิงห์ VS ช้าง สงครามฟองเบียร์อีโคโนมีรอบใหม่
- ถึงเวลา...“เบียร์สิงห์”เอาคืน เปิดแนวรุก รบเฉพาะจุด
- ฝ่ากำแพงราคา เปลี่ยนพฤติกรรมผู้บริโภค
- ส่งอีสานเบียร์ แบรนด์ใหม่อัดท้ายปีหวังดันยอด
- ตัดตอนกลุ่มคนดื่มอาชาไปถึงเบียร์ช้าง...
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 พฤศจิกายน 2550)
ไฮเนเก้นก๊อปแนวสตาร์บัคส์ ขายเบียร์ในสนามบิน
เป็นเพราะธุรกิจเบียร์ เป็นธุรกิจที่มีการแข่งขันอย่างรุนแรง และนับวันความเข้มข้นทางการตลาดจะยิ่งเพิ่มขึ้น ไฮเนเก้นในฐานะของยักษ์ใหญ่ในวงการเบียร์ ได้แสดงให้เห็นว่าการตื่นตัวและปรับปรุงช่องทางการตลาดให้ดีขึ้น เป็นเรื่องที่มีความจำเป็นต่อการอยู่รอดของกิจการในระยะยาว ล่าสุดไฮเนเก้นได้คิดแผนใหม่ว่าอยากจะให้เคาน์เตอร์บาร์ของตนใช้ประสบการณ์ของร้านกาแฟสตาร์บัคส์ มาทดสอบจำหน่ายเบียร์เป็นเครื่องดื่มบ้าง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 2 เมษายน 2550)
จอห์นนี่ วอล์กเกอร์ รุก CSR ผนึกกำลังพาร์ตเนอร์ทั่วโลก
ทำอย่างไรการบริหารงานเพื่อสังคมไม่จำกัดอยู่เพียงในประเทศแต่ขึ้นชั้นระดับโลก? จอห์นนี่ วอล์กเกอร์ บริษัทเหล้ายักษ์ใหญ่ จับมือพาร์ตเนอร์ท้องถิ่นแบ่งเขตการทำงานสู่เป้าหมาย เปิดรหัสลับ CSR อย่างยั่งยืน "เน้นสร้างคนให้จับปลาไม่ใช่จับปลาให้เขากิน"
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 มีนาคม 2550)
เบียร์นวัตกรรมเริ่มนิยมจนเติบโตแซงหน้าแบรนด์ดัง
ตลาดเบียร์โลกตอนนี้มีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและสัดส่วนของตลาดไปจากเดิมมาก อย่างน้อยก็เป็นการเปลี่ยนแปลงที่มาจากการที่เบียร์ประเภทโฮม เมด หรือเบียร์จากการนำเข้า ได้เข้าไปมีบทบาทในการแย่งตลาดของเบียร์แบรนด์ดัง ที่ผลิตจากผู้ประกอบการชั้นนำของโลกมากขึ้น
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 กุมภาพันธ์ 2550)
เบียร์จีนบุกตีตลาดน้ำเมาไทย “ชิงเต่า”ฮิตในกลุ่มนักท่องเที่ยว
สมาคมโฆษณาธุรกิจฯ คาดการควบคุมโฆษณาแอลกอฮฮล์ในไทย จะทำให้เบียร์ถูกจากจีนตีตลาดไทยกระจุยภายใน 5 ปี ขณะที่ผู้ผลิตรายใหญ่ของไทยต้องปรับราคาสู้ ส่วนผู้ผลิตรายเล็กตายหมดเพราะสู้ต้นทุนต่ำไม่ไหว เผยขณะนี้ “เบียร์ชิงเต่า” เบียร์อันดับ 1 ในจีนเข้ามาเจาะตลาดไทยแล้ว คาดในไม่ช้าเบียร์จีนทุกมณฑลจะแข่งกันเข้าไทยเพียบ ขณะที่ผู้เชี่ยวชาญจีนชี้เบียร์จีนมีกว่า 500 ยี่ห้อ ราคาถูกกว่าน้ำอัดลม
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 6 พฤศจิกายน 2549)
“การตลาดสร้างประสบการณ์”ไพ่ใบสุดท้าย ค่ายเหล้า-เบียร์ ฝ่าด่านกฎเหล็กครอบจักรวาล
การควบคุมการโฆษณาเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ ในสื่อทุกชนิดตลอด 24 ชั่วโมง ของกระทรวงสาธารณสุข ยังไม่มีบทสรุปชัดเจน และยังไม่เริ่มบังคับใช้ เพราะร่างพ.ร.บ.การโฆษณาสุรา อยู่ในระว่างการทบทวนใน 2 ประเด็นหลักคือความชัดเจนคือ ผู้ซื้อต้องมีอายุ 25 ปีบริบูรณ์ และการพิจารณาปรับเพิ่มภาษีเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 23 ตุลาคม 2549)
ได้เวลา ค่ายเหล้านอก เปิดเกมยึดตลาดไวท์ สปิริต
จากเดิมตลาดวิสกี้ เป็นตลาดที่มีการแข่งขันกันอย่างดุเดือดต่อเนื่องมาหลายปี แต่วันนี้ สังเวียนการแข่งขันของค่ายเหล้านอกได้เปลี่ยนไป โดยผู้เล่นในตลาดหันไปให้ความสำคัญกับการทำตลาดเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ประเภทอื่นมากขึ้น ปรากฎการ์ณที่เกิดขึ้น เมื่อเร็วๆนี้ค่ายยักษ์ใหญ่ของวงการนำเข้าเหล้านอก ก็เริ่มจัดทัพสินค้าสู้ศึกครั้งใหม่ในตลาดไวท์ สปิริต หรือวิสกี้สีขาว รองรับกระแสวัฒนธรรมการดื่มค็อกเทลที่ได้รับความนิยมอย่างสูงทั่วโลก ซึ่งทำให้วอดก้าทั่วโลกเติบโตเฉลี่ยต่อปี 5%
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 21 สิงหาคม 2549)