โอเรียนท์รีเทิร์น ชูฟังก์ชั่นสู้นาฬิกาสวิส
โอเรียนท์คัมแบ็กบุกตลาดเมือไทยอีกครั้งพร้อมตั้งโทรคาเดโรเป็นตัวแทนจำหน่าย เจาะตลาดคนรุ่นใหม่ ส่งนาฬิกาหลายรุ่นครอบคลุมตลาด โดยชูเทคโนโลยีสู้แบรนด์สวิส ซึ่งหันไปเน้นเรื่องของการประดับด้วยอัญมณีมากกว่า
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 6 ตุลาคม 2548)
เซ็นชะ Repositioning แล้วจะอยู่จะอยู่ได้ไหม
เซ็นชะกำลังปรับตัวเพื่อรักษาตำแหน่งอันดับ 3 ในตลาดชาเขียว หลังจากถูกเพียวริคุ ชาขาวจากค่ายกระทิงแดงเบียดขึ้นมาเป็นอันดับสามร่วมกันส่วน "แชมป์" และ "รองแชมป์" ไม่ต้องพูดถึงเป็นของโออิชิ และยูนิฟ เซนชะ ได้ออกสู่ตลาดในช่วงหน้าร้อนปีที่แล้ว (เมษายน 47) ชูจุดขายความเป็นญี่ปุ่นแท้ ๆ (เขาให้ดูจากสัญชาติบริษัทแม่ อายิโนะโมโตะ ที่เป็นญี่ปุ่น) มุ่งกลุ่มเป้าหมายที่นักศึกษามหาวิทยาลัยและคนรุ่นใหม่ที่ใส่ใจสุขภาพ โดยเริ่มวางตลาดรสชาติดั้งเดิมก่อน เป็นชาเขียวแท้ๆ ตามแบบต้นตำรับจากประเทศญี่ปุ่น ทั้งนี้ บริษัท ตั้งเป้ายอดขายช่วงแนะนำตัวไว้ประมาณ 20% ของมูลค่าตลาดรวม
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 30 กันยายน 2548)
ตลาดทีวีผลัดใบ เข้าสู่ยุคของแอลซีดีทีวี
เมื่อผู้บริโภคอาศัยในเมืองมากขึ้น ความจำกัดในเรื่องที่อยู่อาศัย ผลักดันให้ไลฟ์สไตล์เปลี่ยน เครื่องไฟฟ้าและเครื่องใช้ภายในบ้านต้องมีดีไซน์ที่สอดคล้องกับวิถีชีวิต ทีวีนอกจากจอใหญ่แล้วยังต้องบาง เบา ประหยัดไฟ เชื่อมต่ออุปกรณ์ดิจิตอลต่างๆได้ ประกอบกับสงครามราคา ที่ผลักดันให้แบรนด์ดังหันมารุกเทคโนโลยีมากขึ้น นำมาสู่ยุคของแอลซีดีทีวี
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 30 กันยายน 2548)
Entertainment Way จับบันเทิงมันส์ๆมาใส่แบรนด์
บันเทิงร้อนๆมาแล้วจ้า เมื่อโลกเครียด คนคร่ำเคร่ง จึงเป็นโอกาสการเติบโตของสินค้าสนองความรื่นเริงบันเทิงใจ หลายองค์กรระดับโลกจึงทั้งปรับ ทั้งเน้นยุทธศาสตร์เข้าสู่โลกของเพลง-เกม-ภาพยนตร์ กระแสนี้ใครพลาด ถือว่าตกยุคการตลาดที่สำคัญของโลก เฉพาะอย่างยิ่งหากต้องการจับคนรุ่นใหม่ให้อยู่หมัด
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 กันยายน 2548)
3 บิ๊ก 'Black Canyon' ฟันธง 'ธุรกิจกาแฟขาลง'
ในบรรดาธุรกิจแฟรนไชส์ ปฎิเสธไม่ได้ว่าธุรกิจกาแฟ จัดเป็นเซ็คเม้นท์ที่มีการเข้าลงทุนอยู่ในอับดับต้นๆ มีอัตราการเติบโตตลอดช่วงระยะ 4-5 ปีที่ผ่านมา จากการขยายสาขาลงทุนอยู่ทุกมุมเมือง แต่ ณ วันนี้ ธุรกิจแฟรนไชส์กาแฟ ยังเป็นธุรกิจที่ยังน่าสนใจอยู่หรือไม่ โอกาสการเติบโตของธุรกิจเป็นอย่างไร
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 22 กันยายน 2548)
ยุทธศาสตร์ 5 Big Brand สร้างแฟนพันธุ์แท้ด้วยอารยธรรม
-อารยธรรมใหม่ ยังไม่สิ้นไปจากวงการตลาด ไทรทัน ปิกอัพพันธุ์ใหม่จากค่ายมิตซูบิชิ ขอร่วมสร้างตำนานนี้ด้วยคน
-หากใครสร้างได้นั่นหมายถึงจะทำให้สินค้า-บริการ-แบรนด์ อยู่เหนือคู่แข่ง แถมยังสร้างวิถีชีวิตใหม่ให้ผู้บริโภค ไม่นับยอดขายอีกบานตะไท
-โซนี่ วอล์กแมน..ไอพอด...มิตซฺบิชิ...ลีวายส์..ฮาร์เล่ย์ เดวิดสัน หลายแบรนด์ หลากสินค้า ผู้สร้างสรรค์ก่อให้เกิดอารยธรรมใหม่ จนกลายเป็นตำนาน ที่มีสาวกอยู่ทั่วทุกมุมโลก
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 22 กันยายน 2548)
Brand Ambassadors กลยุทธ์ยอดฮิตของหลายค่ายยุคนี้
Brand Ambassadors กำลังเป็นสิ่งที่หลายสินค้าให้ความสำคัญเพิ่มขึ้น-เพิ่มขึ้น เพราะลำพังแค่พรีเซนเตอร์ กับพริตตี้ ไม่เพียงพอต่อการสร้างความแตกต่าง และโดดเด่น ในยุคที่สินค้าแข่งขันกันอย่างรุนแรง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 18 สิงหาคม 2548)
การตลาดช่วยชาติ กระแสร้อนที่หลายค่ายไม่ยอมพลาด
*บางจากจับมือฟอร์ด จัดแคมเปญซื้อรถคันละบาท ช่วยชาติด้วยแก๊สโซฮอล์
*ไอ.ซี.ซี. หยิบ ARROW WRINKLE FREE มาสะบัดฝุ่น คราวนี้ภายใต้แคมเปญ เชิ้ตช่วยชาติ...ประหยัดไฟ
*ดี-ไทย น้ำลำไยขวดละ 18 บาท แนวคิดช่วยชาวสวน และช่วยชาติ ของ ตัน โออิชิ
*และอีกหลากหลายแคมเปญ “ช่วยชาติ” ที่แพร่ระบาดไปทั่วทุกอณูของสินค้า-บริการ และขอเข้ามามีส่วนร่วมกับกระแสนี้ด้วยคน
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 11 สิงหาคม 2548)