Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article

industry
company
people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ116  
Positioning298  
ผู้จัดการรายวัน328  
ผู้จัดการรายสัปดาห์351  
PR News59  
Total 801  

Listed Company
Manager Lists
 
Industry > Marketing


ผู้จัดการรายสัปดาห์ (141 - 150 of 351 items)
ชีซ่าดอทคอม คอมมูนิตี้พรีทีน การตลาดเหนือชั้น "อาร์เอส" อาร์เอสเปิดยุทธการยึดเว็บคอมมูนิตี้ ชง "ชีซ่าดอทคอม" เจาะแฟนเพลงพรีทีนสร้างเวอร์ชวลไลฟ์สไตล์เซ็นเตอร์ เครื่องมือการตลาดแนวใหม่ยุคดิจิตอลครองเมืองปลุกกระแส "ไวรัส มาร์เกตติ้ง" อุตสาหกรรมเพลงไทย(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 9 เมษายน 2550)
MARKETING TASTE:แตกต่างอย่างเข้าท่า แนวคิดการตลาดด้วยตัวมันเอง ก็ย่อมเปลี่ยนแปลงเป็นอนัตตา นักการตลาดจึงควรทบทวนเครื่องมือ หรือแนวคิดที่ใช้ได้ผลแบบเก่า ควบคู่กันไปกับแนวคิดใหม่ที่มีผู้คนนำเสนอเข้าสู่ตลาด แนวคิดทางการตลาดทั้งที่เป็นเหล้าเก่าในการนำเสนอใหม่ๆ และเหล้าเก่าแต่เพิ่มหัวเชื้อพิเศษเข้าไปให้กลมกล่อมยิ่งขึ้นก็ตาม(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 2 เมษายน 2550)
กลยุทธ์การตลาด:Viral Marketing คลิปเหลนแค่แซมเปิ้ลเท่านั้น แฮปปี้ได้ผลิตภาพยนตร์โฆษณาสนับสนุนการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่อย่างพอดี ใช้ชื่อว่า "แฮปปี้โทร.พอดีพอดี" ซึ่งจะเปิดตัวเป็นครั้งแรกผ่านทางการส่งอีเมล์ให้กัน เพื่อเป็นการรณรงค์ให้กลุ่มวัยรุ่นใช้โทรศัพท์เท่าที่จำเป็นและใช้ด้วยความพอดี นับเป็นการนำแนวคิดการตลาดที่เรียกว่า Viral Marketing ซึ่งกำลังเป็นที่นิยมในต่างประเทศมาใช้เป็นครั้งแรกของวงการโทรศัพท์เคลื่อนที่ ก่อนที่จะนำออกฉายจริงในเดือนหน้าทางโทรทัศน์(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 2 เมษายน 2550)
ยกระดับงานวิจัย สู้ศึกการตลาดยุคดิจิตอล งัดไอเดียเรียลลิตี้ โชว์ เจาะหาใจผู้บริโภค สภาพเศรษฐกิจที่ซบเซาต่อเนื่องมาเป็นเวลาแรมปี และยังไม่มีท่าทีจะกลับมาเฟื่องฟู ทำให้นักการตลาดหลายต่อหลายคนหันมามองเกมการตลาดแบบตั้งรับ กลับมาใช้โอกาสเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับแบรนด์ของตนเอง รอคอยเวลาที่ตลาดจะกลับมาสดใส แต่เมื่อการสร้างแบรนด์ให้ประสบความสำเร็จ คือการส่งให้แบรนด์นั้นเป็นที่ชื่นชอบอยู่ในใจผู้บริโภค หัวใจสำคัญของการสร้างแบรนด์ จึงปฏิเสธส่วนผสมสำคัญ คือ ความเข้าใจในตัวผู้บริโภคไปไม่ได้(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 2 เมษายน 2550)
พานาฯ ซัมเมอร์แคมป์ สร้างสาวกสาวรุ่นเยาว์ พานาโซนิค เดินแคมเปญ สร้างแบรนด์ลอยัลตี้ขยายตลาดรุ่นเยาว์ ปรับแบรนด์อิมเมจให้ทันสมัย ผุดโปรเจ็กซัมเมอร์แคมป์ Panasonic Sis to Sis for Life เจาะตลาดสาววัย 17-22 ปี ถ่ายทอดความรู้ให้สาวรุ่นใหม่รู้จักเทคโนโลยีมากขึ้นเพื่อเป็นกำลังสำคัญในอนาคต(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 2 เมษายน 2550)
ตรวจไข้ " ไวรัล มาร์เกตติ้ง" การตลาดเชื้อใหม่ ยังไม่ถึงวันระบาด ยุคสมัยที่เปลี่ยนไป นำพาพฤติกรรมผู้บริโภคให้เปลี่ยนตาม การใช้สื่อเพื่อนำพาข่าวสารในแบบเดิม ๆ ที่ใช้กันมาเนิ่นนานหลายทศวรรษ เริ่มลดประสิทธิภาพ การสื่อสารด้วยสื่อรูปแบบใหม่ที่ทลายกรอบที่เคยจำกัดสื่อเดิมเข้ามาแทนที่ โกลบอลเทรนด์ ตีฆ้อง ไวรัล มาร์เกตติ้ง ที่เลียนแนวคิดการแพร่กระจายของเชื้อไวรัส แพร่กระจายจากหนึ่งสู่สิบ เป็นร้อย เป็นพัน ในเวลารวดเร็ว คลับคล้ายจดหมายลูกโซ่ที่คนไทยคุ้นเคยในอดีต จนถึงการฟอร์เวิร์สอีเมล์ ที่กระจายข้อความจากหนึ่งคนสู่ผู้รับมหาศาลในเวลารวดเร็ว(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 2 เมษายน 2550)
Philips Simplicity Event ประสบการณ์ Healthy Lifestyle ฟิลิปส์เดินสายจัดกิจกรรมสร้างรูปธรรมให้กับ Sense and Simplicity หวังดึงคู่ค้าและพันธมิตรถ่ายทอดประสบการณ์เทคโนโลยีแห่งอนาคต โดยเน้นการยกระดับคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น (Healthy Lifestyle) ตั้งเป้า 3-5 ปี ในการสร้างฐานลูกค้าให้กับผลิตภัณฑ์ Sense and Simplicity เพื่อสร้างความแตกต่างจากคู่แข่ง(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 มีนาคม 2550)
MARKETING TASTE: Online Radio มาแล้ว ผมได้มีโอกาสเข้าไปทำงานการตลาดให้กับวิทยุออนไลน์ที่ชื่อ Radio.in.th โดยจับพลัดจับผลูด้วยว่าบริษัทที่ผมให้คำปรึกษาอยู่ ได้ขายหุ้นครึ่งหนึ่งให้กับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็มเอไอ และบริษัทนี้ก็ได้รับโอนวิทยุออนไลน์มาจากรุ่นน้องที่มีใจรักในการทำสถานีวิทยุออนไลน์(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 มีนาคม 2550)
เกมเดิมพันธุรกิจยา… ปลุกกระแสการตลาดแนวใหม่ ธุรกิจยาเวชภัณฑ์ หันมาปรับโมเดลเร่งเปิดเกมรุก งัดการตลาดแนวใหม่ตามรอยสินค้าคอนซูเมอร์ หลังประเมินว่าจะ “ส่อแวว” ชะลอตามสภาพเศรษฐกิจ โดยปูพรมประชาสัมพันธ์พร้อมจัดอีเวนท์เน้นเรื่องสุขภาพเป็นหลักและโปรโมชั่นอัดฉีดหวังกระตุ้นตลาดให้โตขึ้น(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 มีนาคม 2550)
ผ่าธุรกิจ “ฟ.ฟัน”...ขุมทรัพย์หลายพันล้าน ปัจจุบันตลาดทันตกรรมในประเทศมีสถานประกอบการมากกว่า 3,500 แห่ง สร้างเม็ดเงินหมุนเวียนแต่ละปีไม่ต่ำกว่า 6,000 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนของมูลค่าตลาดคลินิกทันตกรรมเอกชนร้อยละ 75 ส่วนที่เหลืออีก 25% จะเป็นในส่วนของโรงพยาบาล ขณะเดียวกันในทุกๆ เดือนจะมีคลินิกทันตกรรมเปิดใหม่ประมาณ 10 แห่ง ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงสภาพการแข่งขันที่เริ่มจะรุนแรงมากขึ้น(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 มีนาคม 2550)

Page: ..11 | 12 | 13 | 14 | 15 | 16 | 17 | 18 | 19 | 20 ..





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us