CSER ธนาคารกรุงไทย บรรษัทภิบาล+4 มิติ
กิจการธุรกิจไม่ว่าขนาดใหญ่หรือขนาดกลางและขนาดย่อมที่เรียกว่า SME ก็ล้วนสามารถแสดงบทบาทความรับผิดชอบต่อสังคม หรือการมี CSR (Corporate Social Responsibility) ได้ทั้งสิ้น หากมีจิตสำนึกใฝ่ดีและทำดี
(ASTVผู้จัดการรายสัปดาห์ 8 มิถุนายน 2552)
"กรุงไทย"พลิกสาขาเป็นห้างสรรพสินค้าเปิดหน้าร้าน"เคทีบี ลีสซิ่ง"แลกหมัด"นอนแบงก์
"แบงก์กรุงไทย" ติดเครื่องยนต์ฝั่ง "เคทีบี ลีสซิ่ง" ทำการตลาดเชิงลึก พลิกสาขามากกว่า 700-800 แห่งทั่วประเทศ เดินสาย โรดโชว์ ออกบูท เนรมิตรสาขาเป็น "หน้าร้าน" ขายสินค้า หน้าตาเหมือนห้างสรรพสินค้าทุกกระเบียดนิ้ว ดึงลูกค้าข้าราชการและรัฐวิสาหกิจ ลูกค้าแบงก์ ที่เคยใช้บริการตลาด "นอนแบงก์" มาช้อปสินค้าในแบงก์ สารพัดตั้งแต่เครื่องใช้ไฟฟ้า จักรยานยนต์ รถยนต์ ข้ามมาจนถึงเครื่องประดับ เพชร และทองคำ ที่มีรูปแบบการดีไซน์ แบบ "ซื้อถูก ซื้อง่าย ผ่อนสบาย"....
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 พฤษภาคม 2551)
"แบงก์กรุงไทย"ดิ้นหลุดจากกรอบ ปรับทิศเข็นรายได้บริการภาคเอกชน
"แบงก์กรุงไทย"ประกาศตัวเอาดีด้านบริการ"payment"ที่ถือเป็นความชำนาญไปแล้วเมื่อเทียบกับค่ายอื่น ด้วยฐานลูกค้าองค์กรขนาดใหญ่โดยเฉพาะของภาครัฐที่ต่อระบบเชื่อมงานบริการในส่วนนี้ วางแผนอนาคตขยายฐานสู่ภาคเอกชน หวังเพิ่มค่าธรรมเนียม สร้างรายได้ให้แบงก์
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 9 ตุลาคม 2549)
ลงทุนยุคเศรษฐกิจขาลง "ซื้อบ้าน-กองทุน" แบบไม่เสี่ยง
แนะมนุษย์เงินเดือน ยุคเศรษฐกิจขาลง เลือกสูตรผ่อนบ้านใหม่ หรือซื้อบ้านมือสองที่ไม่เสี่ยง ชี้เงินเดือนขึ้นไม่ทันอัตราเงินเฟ้อในอีก 2 ปีข้างหน้า พร้อมถอนเงินจากตลาดหุ้น เก็บกองทุนบางประเภท ที่ให้ประโยชน์คุ้มค่าและไม่เสี่ยง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 21 กรกฎาคม 2548)
แบงก์แย่งปล่อยสินเชื่อบ้าน
สถาบันการเงิน ทั้งแบงก์ และนอนแบงก์ ปรับยุทธศาสตร์ครั้งใหญ่ เบนเข็มปล่อยสินเชื่อบ้าน เหตุเสี่ยงต่ำ ตลาดใหญ่มูลค่าแสนล้าน และโดดแรงบีบจากธปท.เรื่องกำหนดเพดานดอกเบี้ย ธอส.ผู้นำตลาดปล่อยไม้เด็ดเป็นระลอก หวังขยายฐานลูกค้าใหม่ และตีกันลูกค่าเก่าเปลี่ยนใจรีไฟแนนซ์
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 พฤษภาคม 2548)