จับทางสร้างแบรนด์ไทย 3 แบรนด์ดังผงาดเอเชีย
- ปลุกแบรนด์ไทยโกอินเตอร์ ด้วย 3 แบรนด์ดังจากผลวิจัย "Top 1000 Asian Brands 2007"
- "มาลี" พลิกบทบาทเพิ่มมูลค่าแบรนด์ด้วยความรู้ใกล้ตัว ตีกรอบความเสี่ยง-สร้างสรรค์ความคิด
- "สปอนเซอร์" เกาะกระแสกลุ่มเป้าหมายด้วยการลงพื้นที่ ชูสโลแกนมัดใจลูกค้า
- "มาม่า" ปรับทิศทำ "umbrella brand" รุกตลาดแบบซอยยี่ห้อในเครือ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 3 ธันวาคม 2550)
ตลาดบะหมี่ซองปีกุน ส่อเค้าไม่หมูต้นทุนผลิตพุ่ง บีบรัดเข็มขัด เน้นลุยรสยอดนิยม
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย วิเคราะห์ถึงแนวโน้มตลาดบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปในปี 2550 ว่าจะเติบโตราว 5-7% จากมูลค่าตลาด11,000 ล้านบาท ในปี 2549 ชะลอตัวลงจากการเติบโตในปี 2549 ที่ขยายตัวถึง 8-10% เนื่องจากได้รับปัจจัยหนุนจากการแข่งขันฟุตบอลโลก รวมทั้งภาวะน้ำท่วม ส่งผลถึงความต้องการบริโภคบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปตามบ้านเรือนเพื่อใช้ยามฉุกเฉิน รวมทั้งใช้เป็นของบริจาคให้ผู้ประสบภัยมีเพิ่มขึ้น
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 มกราคม 2550)
รัฐ-เอกชน เดินหน้าศก.พอเพียงคลอด 6 โครงการ-“ม่าม่า-ปูนใหญ่” จุดพลุ
ภาครัฐ - เอกชนขานรับตามแนวพระราชดำริ “เศรษฐกิจพอเพียง ”ปรับใช้ในปี2550 เชื่อไม่สวนทางตลาดโลกเสรีแต่กลับสร้างเศรษฐกิจแข็งแกร่งแบบยั่งยืน ขณะที่สภาอุตฯน้อมรับจับมือสสว.คลอด 6 โครงการพัฒนา SMEs ให้โตทั้งในและนอกประเทศ ด้านบริษัทเอกชน ‘มาม่า –ปูนซิเมนต์ไทย’ ใช้เป็นยุทธศาสตร์ในการทำธุรกิจ
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 15 มกราคม 2550)
“ศก.พอเพียง” มาแรง ธุรกิจไทย-เทศใช้ได้ผล
กระแสเศรษฐกิจพอเพียงร้อนแรงสุด ราชการ-เอกชน น้อมนำมาใช้ขับเคลื่อนองค์กร เพื่อสร้างภูมิคุ้มกัน และความยั่งยืนในระยะยาว เปิดแนวทางปฏิบัติ 10 ประการ ของธุรกิจทั้งในและต่างประเทศที่ประสบความสำเร็จ เผยบริษัทชั้นนำที่จัดการเข้าหลักเศรษฐกิจพอเพียง พร้อมแนวดำเนินงานอย่างละเอียด ไม่ใช่แค่ทฤษฎี แต่สามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 15 มกราคม 2550)
"มาม่า" ยักษ์บะหมี่กึ่งสำเร็จรูปหนีตลาดอิ่มตัว สลัดทิ้งภาพ 5 บาทขยับตัวเข้าสู่ตลาดพรีเมี่ยม
แม้ว่าภาพรวมของตลาดบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปในปี 2549 ตลาดยังคงมีอัตราการเติบโตอย่างต่อเนื่อง แต่สินค้าบะหมี่สำเร็จรูปในแบบถ้วยและชามจะเป็นสินค้าตัวหลักในการผลักดันให้ตลาดรวมเติบโตขึ้นอย่างโดดเด่น และคาดการณ์ว่ายอดขายของสินค้าบะหมี่กึ่งสำเร็จรูปแบบถ้วย ซึ่งมีสัดส่วน 15% ของตลาดรวมมูลค่า 1 หมื่นล้านบาท จะมีอัตราการเติบโตถึง 50 % ขณะที่ตลาดชนิดซองใกล้ถึงจุดอิ่มตัว เพราะมีการเติบโตเพียง 7%
(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 22 พฤษภาคม 2549)