Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ6  
Positioning1  
ผู้จัดการรายวัน50  
ผู้จัดการรายสัปดาห์12  
PR News24  
Total 81  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > ธนาคารออมสิน


ผู้จัดการรายสัปดาห์ (1 - 10 of 12 items)
แบงก์พาณิชย์โวยถูกคุม - ปล่อย”ออมสิน” โต แข่งตลาดเดียวกัน เบรกเอกชนห้ามชิงโชค แบงก์ออมสินงัดกลยุทธ์สลิป ATM ชิงรางวัลรถยนต์ เมินหนังสือเวียนแบงก์ชาติที่ไม่สนับสนุนกิจกรรมชิงโชค แบงก์พาณิชย์หน่ายแข่งตลาดเดียวกันแต่กติกาต่างกัน สร้างความไม่เป็นธรรมในการแข่งขัน(ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 พฤศจิกายน 2553)
แปลงโฉม"ออมสิน"แค่จุดเริ่มต้นการเปิดศึกสร้างนักรบเกราะ"ทอง-ชมพู"ลงสู่สนามรบ ในบรรดาสถาบันการเงินเฉพาะกิจของรัฐ "ออมสิน"จัดเป็นแบงก์ที่เห็นการเปลี่ยนแปลงชัดเจนมากสุด เพราะแทบไม่เหลือภาพลักษณ์เก่าให้จดจำ แต่การปรับโฉมที่บรรจงสร้างขึ้นใหม่เป็นเพียงจุดเริ่มต้นของศึกในสนามรบธุรกิจการเงิน การเปลี่ยนแปลงครั้งนั้นจึงมิได้สั่นสะเทือนต่อสถาบันการเงินอื่นให้รู้สึกยำเกรงมากนัก ที่เป็นเช่นนั้นเพราะ กองทัพเกราะ "ทอง-ชมพู"ยังไม่แกร่งพอรับศึกรบเต็มกำลัง ทำให้ "ออมสิน" ต้องใช้เวลาสร้างทัพใหญ่ให้มีกำลังที่แข็งแกร่งก่อนออกรบศึกจริง(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 26 กุมภาพันธ์ 2550)
เศรษฐกิจซบเซาแต่ภาคการเงินไม่เซื่องซึมสมรภูมิช่วงชิงฐานลูกค้ารายย่อยยังดุเดือด เศรษฐกิจที่มีกลิ่นอายของความเซื่องซึมมิได้ลดอุณหภูมิการแข่งขันของภาคการเงินให้เย็นลงแต่ประการใด...ความร้อนแรงดุเดือดในการช่วงชิงส่วนแบ่งตลาดโดยเฉพาะฐานลูกค้ารายย่อยยังดำเนินต่อไปภายใต้โอกาสที่ไม่เอื้ออำนวยนัก แต่ถึงกระนั้นทุกสถาบันต่างไม่ยอมลดราวาศอกให้คู่แข่งเข้ามาช่วงชิงเค้กของตน....(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 19 กุมภาพันธ์ 2550)
ปรากฏการณ์"ออมสิน"สีบานเย็นพิฆาตกลยุทธ์เหนือชั้นชิงเงินฝากด้วย"สลาก" ความแรงของ "สลากออมสิน"อาจเรียกได้ว่าเป็นปรากฏการณ์สำคัญที่สร้างสีสันให้วงการธุรกิจการเงิน เห็นได้จากยอดการจำหน่ายสลากในงวดที่มีแคมทเปญพิเศษเป็นเครื่องล่อใจ ดึงเม็ดกว่า 2.5 หมื่นล้านบาทเข้าแบงก์ ซึ่งความเป็นจริงแล้วไม่ง่ายเลยสักนิดที่จะเรียกเม็ดเงินจำนวนมหาศาลได้มากมายขนาดนี้ในระยะเวลาที่จำกัด ปรากฎการณ์ที่เกิดขึ้นสะท้อนให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงของออมสินในยุคสี "บานเย็น" โดยเฉพาะนโยบายการตลาดที่หวือหวาเปลี่ยนไปจากอดีตที่ผ่านมาค่อนข้างมาก(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 มกราคม 2550)
แบงก์ออมสินเปิดแบรนด์สู่รายย่อยกลุ่มใหม่ปฏิวัติผลิตภัณฑ์ครบวงจรบริการทุกหย่อมหญ้า "ออมสิน"ปฏิบัติการแผน 2 ต่อเนื่องหลังรีแบรนดิ้งเปิดตัวสู่สาธารณะชนกลุ่มใหญ่มากขึ้นจากเดิมที่เน้นลูกค้าระดับฐานหญ้าตามนโยบายรัฐ นำบริการที่มีหลากหลายแต่ยังไม่เป็นที่รู้จักมาปฏิวัติแปลงโฉมใหม่พร้อมเปิดตัวสู่ตลาดรายย่อยที่ไม่เคยได้รู้และสัมผัสความเป็นออมสินในภาพลักษณ์ใหม่ที่เป็นมากกว่าธนาคาร เพราสนองความต้องการได้ทั้งนโยบายรัฐ ขณะเดียวกันก็ให้บริการที่ครบวงจรแก่บุคคลทั่วไป(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 29 พฤษภาคม 2549)
ออมสิน"เป็นมากกว่าธนาคาร"วางตำแหน่ง"แบงก์หลากมิติ" ขณะที่แบงก์อื่นๆ พยายามชูภาพความเป็นแบงก์เต็มรูปแบบ หรือ "ยูนิเวอร์แซลแบงกิ้ง" หรือ แบงก์เพื่อรายย่อย หรือ "รีเทลแบงกิ้ง" คอนวีเนียนแบงกิ้ง เอ็นเตอร์เทนเมนท์ แบงกิ้ง รวมถึงซูเปอร์มาร์เก็ตไฟแนนซ์ แต่แบงก์วัยกว่า 90 ปี ที่มีธุรกิจในมือเกือบจะครบถ้วนไม่ต่างจากแบงก์อื่นอย่าง "ออมสิน" กลับเลือกที่จะให้คำนิยามตนเอง "เป็นมากกว่าธนาคาร" คือเป็นทั้งโฮลเซลส์แบงก์กิ้ง รีเทลแบงกิ้งหรือแม้แต่ยูนิเวอร์แซล แบงกิ้ง กลายเป็นแบงก์หลากมิติ ที่มองได้ทุกมุม "การรีแบรนดิ้ง" ออมสินยุคใหม่ จึงไม่มีภาพลักษณ์ที่ชัดเจน แต่ที่ไม่ควรมองข้ามไปก็คือ สิ่งที่แบงก์ต่างๆมีออมสินก็อยู่ครบถ้วน....(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 17 เมษายน 2549)
ตำนานแบงก์แถวหน้ากำลังกลายมาเป็นผู้ตาม สมัยหนึ่ง "ออมสิน"เคยเป็น เป็นที่รู้จักของคนตั้งแต่ระดับบนลงสู่รากหญ้า มีสัญลักษณ์น่ารักน่าจดจำคือภาพของ "กระปุกออมสิน" ที่กลายมา เป็นตำนานเล่าขานไม่สิ้นสุดจนปัจจุบัน แต่เมื่อกาลเวลาผ่านไป ธุรกิจการเงินกลายเป็นตลาดที่มีการแข่งขันสูง ธนาคารทุกแห่งปรับตัวเพื่อรับกับสภาวะแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว มีการทุ่มเม็ดเงินลงทุนในหลาย ๆ ด้านเพื่อสร้างชื่อและภาพลักษณ์ให้ติดตลาด ภาพของออมสิน"แบงก์เด็ก" ที่เคยยืนอยู่แถวหน้า และน้อยคนนักที่จะรู้ว่าออมสินเคยมีเทคโนโลยีที่เหนือชั้นในอดีต จึงต้องเร่งปรับตัว เพื่อวิ่งให้ทันสถานการณ์แข่งขันและเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป...(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 17 เมษายน 2549)
รัฐบาลใช้แบงก์เฉพาะกิจจนเพี้ยน ธอส.ดอกเบี้ยแพงสุด หวั่น ธ.ก.ส.ซ้ำรอย รัฐใช้สถาบันการเงินเฉพาะกิจเต็มสูบ หลังแบงก์กรุงไทยสะดุด เปิดทางทำธุรกิจเชิงพาณิชย์ หวั่นหากเกิดปัญหาหนีไม่พ้นเอาเงินภาษีประชาชนอุด ขณะที่โครงสร้างเริ่มเปลี่ยน ธอส.กลายเป็นแบงก์ที่ดอกเบี้ยกู้บ้านลอยตัวสูงสุด ขัดหลักการส่งเสริมคนมีรายได้ปานกลาง-น้อยมีที่อยู่อาศัยเป็นของตนเอง เกรงเข้าสูตรยิ่งจนยิ่งจ่ายแพง(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 2 มกราคม 2549)
ออมสินขึ้นแท่นกู้บ้านดบ.ต่ำ ธอส.อ่วมสนองรัฐต้นทุนพุ่ง ธอส. รับเละสนองนโยบายอสังหาฯ ภาครัฐกว่าล้านหน่วย แบงก์ออมสินแย้มออกสลากให้แต่ต้องไม่เข้าเนื้อ ผู้ประกอบการแนะดอกเบี้ยอาคารสงเคราะห์อาจไม่เหมาะกับบุคคลทั่วไปที่ไม่มีสวัสดิการ(ผู้จัดการายสัปดาห์ 19 ธันวาคม )
"ออมสิน"แบงก์รัฐขวัญใจคนจน ปล่อยกู้รากหญ้าฐานสำคัญที่ถูกเมิน รากหญ้ากลุ่มชนที่มักถูกธนาคารพาณิชย์ปฏิเสธการให้สินเชื่อ ด้วยถูกเพ่งเล็งว่าเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงสูง กู้เงินแล้วโอกาสเป็นหนี้เสียค่อนข้างมาก ทำให้กลุ่มชนดังกล่าวถูกปิดตายอยู่ในโลกที่ปราศจากโอกาสการสร้างตัวสร้างอาชีพ ขาดแหล่งทุนที่เป็นปัจจัยสำคัญของการเปิดประตูแห่งโอกาส แต่วันนี้ประตูดังกล่าวได้แง้มเปิดขึ้นโดยผ่านธนาคารรัฐอย่าง "ออมสิน"ที่มาพร้อมกระแสนโยบายประชานิยม กระนั้นก็ตามสำหรับรากหญ้าแล้วการเข้าถึงแหล่งทุนเป็นสิ่งสำคัญเพราะหมายถึงโอกาสในการยกระดับความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น(ผู้จัดการรายสัปดาห์ 2 พฤศจิกายน 2548)

Page: 1 | 2





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us