ได้เวลา Inorganic Growth
ปัญหาวิกฤติการเงินของสหรัฐอเมริกาเมื่อปีที่ผ่านมาเริ่มส่งผลกระทบอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น เมื่อธนาคารโลกออกมาแถลงการณ์การเติบโตของเศรษฐกิจโลกจะเหลือเพียง 0.9%
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มีนาคม 2552)
TISCO Speciality Bank
การได้ใบอนุญาตธนาคารพาณิชย์ ช่วยเปิดโอกาสทางธุรกิจของทิสโก้เพิ่มขึ้น นอกเหนือไปจากความแข็งแกร่งในบริการทางการเงินอื่น
ที่มีอยู่พร้อมแล้ว แต่การวางบทบาทที่จะแข่งขันในฐานะธนาคารรายใหม่ มีความสำคัญกับอนาคตของทิสโก้ไม่น้อยเลยทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2548)
ปลิว มังกรกนก The Unique Banker
ปลิว มังกรกนก เพิ่งได้เป็นนายแบงก์อย่างเป็นทางการเพียงไม่ถึง 6 เดือน แต่เขากลับมีความชำนาญในสิ่งที่นายแบงก์ปัจจุบันหลายคนกำลังขวนขวายอยากจะทำอยู่ในขณะนี้ มาแล้วถึง 30 ปีเต็ม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2548)
ทิสโก้พลิกโฉม เดินหน้าธุรกิจไฟแนนซ์
บง.รายเดียว ที่สามารถจัดการแก้ปัญหาต่างๆ นานา อันเกิดมาพร้อมวิกฤติเศรษฐกิจ ได้อย่างสำเร็จงดงาม และถือว่าเป็นเรื่องของฝีมือผู้บริหาร และพนักงานอย่างแท้จริง ในการแก้ไขสถานการณ์ครั้งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
TISCO ถือหุ้นบลจ.เต็มร้อย
เตรียมโอนย้ายพอร์ตสำรองเลี้ยงชีพ เป็นไปอย่างเงียบเชียบและเรียบ ร้อย
บง.ทิสโก้จัดทำข้อเสนอซื้อ(bid)หุ้น บลจ.บริหารทุนไทย จากผู้ถือหุ้นรายอื่นๆ
3 ราย ซึ่งได้แก่ ธนาคารกรุงไทย, บงล.กรุงไทยธนกิจ และแบงเกอร์ ทรัสต์ รวม
75% ในราคาหุ้นละ 491 บาท จากราคาที่มีมูลค่าตามบัญชี 160 บาท หรือให้พรีเมียมสูงถึง
200% กว่า เหตุที่ให้ราคาสูงเพราะบง.ทิสโก้ต้องการใบอนุญาตบริหารกองทุนรวมเพื่อทำธุรกิจด้านเงินทุนและหลักทรัพย์
ให้ครบวงจร
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)
ปรับโครงสร้างทุนเสร็จ TISCO เริ่มรุกคืนธุรกิจ
บริษัทเงินทุนที่เข้าร่วมโครงการ 14 เมษาฯ และประสบผลสำเร็จในการปรับโครงสร้างทางการเงินอย่างดียิ่ง
ซึ่งสะท้อนออกด้วยราคาหุ้นวิ่งลิ่ว ผู้ลงทุนใหม่รับผลกำไรไปเนื้อๆ ถือเป็นกรณีศึกษาของ
ไฟแนนซ์ไทยที่ปรับตัวรับมือวิกฤตเศรษฐกิจมาตั้งแต่เริ่มได้กลิ่น โดยเฉพาะมาตรการบริหารความเสี่ยงที่สามารถรับมือ ความผันผวนครั้งนี้ได้อย่างฉมัง
วันนี้ TISCO แม้จะเปลี่ยนผู้ถือหุ้นใหญ่มาเป็นกลุ่ม ทุนไต้หวันแล้ว แต่คาดว่านโยบายการ
บริหารยังเหมือนเดิม ปลิว มังกรกนก ตอกย้ำหลังจากทำการบ้านทบทวนบทบาทธุรกิจไฟแนนซ์
ทำ niche market เป็น "ร้านก๋วยเตี๋ยว" ไม่ทำแบบ "ดีพาร์ทเมนท์สโตร์"
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2542)
ใครเป็นใครในกลุ่มผู้ถือหุ้นใหม่ของ TISCO
บริษัทเงินทุน ทิสโก้ จำกัด (มหาชน) เซ็นสัญญาเข้าร่วมโครงการเพิ่มเงินกองทุนขั้นที่
1 กับกระทรวงการคลัง โดยออกหุ้นบุริมสิทธิแปลงสภาพซึ่งผู้ถือหุ้นจะมีสิทธิได้รับเงินปันผลจำนวน
1 บาทต่อหุ้น (หรือร้อยละ 10 ของมูลค่าที่ตราไว้) ก่อนผู้ถือหุ้นสามัญ และมีสิทธิได้รับเงินปันผลร่วมกับผู้ถือหุ้นสามัญ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2542)
"บงล. ทิสโก้ + บล. ไทยค้า = บงล. ทิสโก้ (ใหม่) จิ๊กซอว์ที่ลงตัว"
บงล. ทิสโก้ก็เป็นบริษัทหนึ่งที่ได้มีการปรับโครงสร้างทางธุรกิจตั้งแต่ปลายปี
2538 เพื่อรองรับการแยกธุรกิจเงินทุนและธุรกิจหลักทรัพย์ออกจากกัน รวมทั้งการแข่งขันที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
และเหตุผลที่สำคัญก็คือ ในช่วงเวลาดังกล่าว ก.ล.ต. ได้มีการอนุมัติให้บริษัทหลักทรัพย์
ที่มีใบอนุญาตไม่ครบ 4 ใบสามารถยื่นเรื่องขอใบอนุญาตการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์ให้ครบทั้ง
4 ใบได้ และขณะนั้นทิสโก้มีใบอนุญาตเงินทุน 4 ใบและหลักทรัพย์ 3 ใบแล้วขาดก็แต่เพียงใบอนุญาตค้าหลักทรัพย์เท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2540)
ธุรกิจการเงินต่างค่ายต่างกลยุทธ์
ตั้งแต่ปีที่ผ่านมาการปรับตัวขนานใหญ่ในวงการธุรกิจการเงินเริ่มปรากฏให้เห็น
โดยแต่ละบริษัทต่างก็มีหนทางของตนเองตามพื้นฐาน โอกาส และความเหมาะสม หลาย
ๆ บริษัทได้ดำเนินการแล้วขณะที่อีกหลายบริษัทอยู่ระหว่างดำเนินการ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2539)
ทิสโก้ไปฮ่องกง
เดือนพฤศจิกายน คณะผู้บริหารระดับสูงของบริษัทเงินทุนหลักทรัพย์ทิสโก้ เดินทางเงียบ ๆ เข้าเกาะฮ่องกง ไปยังชั้น 31 อาคารแปซิฟิกเพลส เพื่อเปิดบริษัทนายหน้าค้าหลักทรัพย์ทิสโก้ขึ้นที่นั่น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)