Search Resources
 
Login เข้าระบบ
สมัครสมาชิกฟรี
ลืมรหัสผ่าน
 
  homenewsmagazinecolumnistbooks & ideaphoto galleriesresources50 managermanager 100join us  
 
News Article Photo

industry
company
a - e
f - l
m - r
s - z
ก - ง
จ - ฌ
ญ - ฑ
ฒ - ถ
ท - ป
ผ - ภ
ม - ว
ศ - ฮ
0 - 9

people
internet
brand


View Results by Group
นิตยสารผู้จัดการ9  
ผู้จัดการรายวัน1  
Total 10  

Listed Company
Manager Lists
 
Company > เอกธนกิจ


นิตยสารผู้จัดการ (1 - 9 of 9 items)
"TDB+FIN1 ต้องอย่างนี้จึงจะรอด?" การรวมกิจการระหว่างธนาคารไทยทนุ (TDB) และบริษัทเงินทุน เอกธนกิจ (Fin1) เพื่อเกิดเป็นธนาคารไทยทนุ ในสูตรการ MERGE แบบ A+B=C ที่มีฐานสินทรัพย์เพิ่มขึ้นอย่างก้าวกระโดดจากเดิม 119,598 ล้านบาท เพิ่มเป็นขนาด 190,000 ล้านบาทนั้น ถือเป็นก้าวการเติบโตที่สำคัญที่สุดของธนาคารที่มีอายุครบ 48 ปีเต็มในเดือนเมษายนนี้ ดีลนี้ต้องถือว่า TDB รับประโยชน์ไปเนื้อ ๆ เพราะดีลเกิดในจังหวะที่ดี เงื่อนไขอย่างด ี และมีข้อต่อรองที่ดี(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2540)
"S-ONE ควบ FAS ดีลแรกของกลุ่มปิ่นที่ยึดแนวคิด "รวมกันเราอยู่" 3 เม.ย. 39 กลุ่มเอกธนกิจได้ทำให้คนในแวดวงธุรกิจไฟแนนต์ตื่นตะลึงด้วยการประกาศรวมกิจการระหว่าง S-ONE กับ FAS ตามนโยบายการลดต้นทุนการดำเนินงานของ "ปิ่น จักกะพาส" ด้วยระยะเวลาห่างกันไม่ถึงปี กลุ่มปิ่นก็ช็อกวงการด้วยข่าวการรวมกิจการระหว่าง บง. เอกธนกิจกับธนาคารไทยทนุภายใต้คำสั่งฟ้าผ่าจากแบงก์ชาติและกระทรวงการคลัง เนื่องด้วยสถานการณ์เศรษฐกิจโดยรวมของประเทศไม่มีทีท่าว่าจะฟื้นตัวได้ในเร็ววัน(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2540)
เอกธนกิจกับข่าวลือทั้งขาขึ้นขาลง ตลาดหลักทรัพย์ของไทย หากปราศจากซึ่งข่าวลือแล้วนักลงทุนไทย ๆ คงหายกันไปอีกเยอะ ด้วยสาเหตุง่าย ๆ คือ นักเล่นหุ้นบ้านเรานิยมเล่นกับราคาหุ้นในแต่ละวัน โดยซื้อหุ้นไปตามข่าวลือ มุ่งหวังจะทำกำไรมาก ๆ เพียงชั่วข้ามวัน และลืมประสบการณ์การขาดทุนที่ผ่านมาครั้งแล้วครั้งเล่า(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2540)
"ประภัศร์ ศรีสัตยากุล พักยาวก่อนขึ้นเป็นนายแบงก์" ในการประชุมคณะกรรมการบริษัทเงินทุน เอกธนกิจครั้งล่าสุดมีข่าวการลงมติอนุมัติการลาออกของประภัศร์ ศรีสัตยากุลกรรมการผู้จัดการเป็นข่าวสั้น ๆ ที่ถูกกลบด้วยข่าวการเสนอขาย วอร์แรนต์ (ใบสำคัญแสดงสิทธิที่จะซื้อหุ้นสามัญ) แก่กรรมการและพนักงานจำนวน 12 ล้านหน่วย(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2539)
"วิถีการเติบโตของเอกธนกิจ" ชื่อ FIN 1 หรือเอกธนกิจในเวลานี้ นอกจากจะเป็นที่รู้จักกันดีในฐานะผู้เชี่ยวชาญในการซื้อกิจการแล้ว ยังเป็นที่จับตาของนักวิเคราะห์หลักทรัพย์และนักลงทุนทั่วไปในแง่ที่มีการขยายการลงทุนเข้าไปในกิจการต่างๆ มากมายทั้งบริษัทที่อยู่ในตลาดหลักทรัพย์และนอกตลาดฯ(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2535)
"สนทนานักลงทุน" การซื้อกิจการในตลาดหุ้นกำลังเกิดขึ้นอย่างมากมาย นักลงทุนต้องสนใจความเคลื่อนไหวเพื่อกำหนดวิธีการลงทุนให้ถูกต้อง ข้อมูล ข่าวสาร จึงเป็นเรื่องสำคัญที่ขาดมิได้เอกธนกิจ (FIN 1) เจ้าของฉายา "ราชาแห่งการ TAKEOVER" เขามีความคิดเป็นอย่างไรต่อการซื้อกิจการ?(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2535)
ปิ่นซื้อฟิลาเท็กซ์ เพื่ออะไร เพียง 7 ปี ฟิลาเท็กซ์ก็ถูกกลุ่มเอกธนกิจเทคโอเวอร์ไปเรียบร้อย ในราคากว่า 200 ล้านบาท หลังจากประสบปัญหาขาดทุน เอกธนกิจนำฟิลาเท็กซ์ซื้อท่าจีนต่อในราคา 255 ล้าน(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2534)
เอกธนกิจ "เจาะเวลาหาอนาคต" บริษัทเอกธนกิจ เป็นที่รวมของศิษย์เก่าธนาคารเชส แมนฮัตตัน จำนวนมากที่สุดแห่งหนึ่ง สิ่งนี้เป็นจุดแตกต่างในวัฒนธรรมองค์กรที่บริษัทนี้มีต่อบริษัทอื่น ๆ ที่ทำธุรกิจการเงินเหมือนกันและผลพวงจากสิ่งนี้ก็คือ การมีจุดมุ่งหมายและทิศทางเด่นชันในธุรกิจวาณิชธนกิจ (INVESTMENT BANK) ซึ่งเป็นแนวโน้มสำคัญของตลาดการเงินไทยในทศวรรษนี้(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2533)
ยูยีน ลี กับบุคลิกที่ปรึกษาทางการเงิน หนุ่มใหญ่วัยกลางคน รูปร่างผอมสูง ท่าทางใจเย็น ยิ้มแย้มพูดจาสุภาพเรียบร้อย สายตาหลักแหลม สุขุม เมื่อเจรจาด้วยสักพักจะพบว่าบุรุษผู้นี้ผ่านงานการต่อรองทางธุรกิจมาอย่าโชกโชน(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2533)

Page: 1





upcoming issue

จากโต๊ะบรรณาธิการ
past issue
reader's guide


 

home | today's news | magazine | columnist | photo galleries | book & idea
resources | correspondent | advertise with us | contact us