Neda กับบทบาท “ผู้อยู่เบื้องหลัง”
หาก ADB หรือ JBIC คือสถาบันการเงินที่อยู่ในยุทธศาสตร์การขยายบทบาททางเศรษฐกิจของญี่ปุ่นในประเทศกำลังพัฒนา ประเทศไทยก็มีหน่วยงานอย่าง Neda ซึ่งมีบทบาทและความสำคัญไม่ด้อยไปกว่ากัน โดยเฉพาะกับประเทศเพื่อนบ้านอย่างลาว เขมร พม่า แต่หน่วยงานนี้กลับไม่เป็นที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางนัก
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา เมษายน 2553)
Exim Bank กับภารกิจหลักใน GMS
โดยชื่อและบทบาทแล้ว EXIM Bank ของไทย คือผู้เล่นสำคัญรายหนึ่งในกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้ำโขง ไม่ต่างจาก ADB หรือ JBIC ซึ่งนักลงทุนไทยที่มองเห็นโอกาส ไม่สามารถมองข้ามได้
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2551)
บทบาทใหม่ของ EXIM
ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการปรับเปลี่ยนกลยุทธ์การดำเนินธุรกิจของธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (EXIM) เมื่อได้มีการลงนามในข้อตกลงกับ KfW IPEX Bank (KfW International Project and Export Finance Bank : ธนาคารสินเชื่อเพื่อการส่งออกจากเยอรมนี) เมื่อวันที่ 8 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ที่โรงแรมโอเรียนเต็ล โดยมีสมคิด จาตุศรีพิทักษ์ เป็นประธานในพิธี
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2547)
The Complicated Service
เป็นบรรยากาศที่คึกคักไม่น้อยทีเดียว เมื่อตัวแทนจากธุรกิจการเงิน 4 แห่ง ได้มารวมอยู่ในที่เดียวกัน
ในห้องจินดาธร ชั้น 8 อาคารสำนักงานใหญ่ ธนาคารกสิกรไทย เพื่อร่วมเซ็นสัญญาเป็นพันธมิตรในบริการใหม่ที่มีชื่อว่าสินเชื่อภายใต้การประกันการส่งออก
(Trade Credit Insurance and Guarantee)
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
"EXIM ยังเจ๋งครึ่งปีกำไรเพิ่ม 8.33%"
ภายหลังการประกาศผลการดำเนินงานงวดครึ่งปีของธนาคารพาณิชย์ และสถาบันการเงิน
สิ่งที่ประจักษ์ชัดก็คือ ตัวเลขผลการดำเนินงานที่ตกต่ำลงเมื่อเทียบกับงวดเดียวกันในปีที่ผ่านมา
บริษัทที่มีกำไรเพิ่มขึ้นหาได้ยากจริง ๆ ในภาวะเช่นนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2540)
หม่อมอุ๋ยปลื้ม เอ็กซิมแบงก์กำไรโตกว่า 20 %
เอ็กซิมแบงก์เปิดศักราชใหม่ด้วยกำไร 615 ล้านบาท จากการดำเนินงานในปี '39
ที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นจากปี '38 ที่มีกำไร 501 ล้านบาท คิดเป็นกำไรเพิ่มขึ้น
22.8% และในส่วนของสินทรัพย์เพิ่มขึ้นเป็น 34,489 ล้านบาท จากเดิมที่มีอยู่
28,204 ล้านบาท
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2540)
เอ็กซิมแบงก์ประเดิมสาขาแรก-หาดใหญ่
จากที่ได้เปิดบริการวันแรกเมื่อ 1 กุมภาพันธื 2537 ของธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย
(ธสน.) หรือเอ็กซิมแบงก์ ตามนโยบายรัฐบาลที่จะผลักดันให้การส่งออกของประเทศมีความสามารถในการแข่งขันยิ่งขึ้น
ทว่า จากที่มีสำนักงานอยู่ในกรุงเทพฯ ที่เดียวทำให้การบริการเป็นไปอย่างไม่ทั่วถึง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2538)
"เอ็กซิมแบงก์ไทย พี่เลี้ยงมือใหม่-ใจถึง"
พลังสี่ประสานภารกิจต่อเนื่องของอดีตนายกฯ อานันท์-ม.ร.ว. ปรีดิยาธร-ขุนคลัง ธารินทร์และผู้ว่าการแบงก์ชาติวิจิตร ทำให้วันนี้ผู้ส่งออกไทยมี "เอ็กซิมแบงก์ไทย" เป็นที่พึ่งการเงินแห่งใหม่ เป็นเสบียงสนับสนุน "กองทัพมด" ผู้ส่งออกไทยขายของในต้นทุนต่ำแล้วขนเม็ดเงินเข้าประเทศปีละไม่ต่ำกว่าล้านล้านบาท แต่ก้าวต่อไปของเอ็กซิมแบงก์ไทยจะสามารถแบกรับภาระปัญหาประกันความเสี่ยงได้หรือไม่ ยังเป็นเรื่องน่าจับตา !!
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2537)
หน้าตาเอ็กซิมแบงก์เพื่อนบ้านอาเซียน
ปี 2533 ไทยมียอดการส่งออกและนำเข้าประมาณ 1.5 ล้านล้านบาทหรือประมาณกว่า
50% ของรายได้ประชาชาติ สิ่งนี้บ่งบอกถึงความสำคัญของภาคการผลิตที่สัมพันธ์กับตลาดโลกว่า
มีความหมายต่อการสร้างความเจริญเติบโตของรายได้ประชาชาติอย่างมากในปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)
"ทำไมไทยต้องมีเอ็กซิมแบงก์"ทัศนะจากเศรษฐกรไอเอ็มเอฟ
ความพยายามของวิจิตร สุพินิจ และวีรพงศ์ รามางกูร ที่จะผลักดันให้ระบบการเงินมีกลไกสนับสนุนธุรกิจการส่งออกอย่างครบวงจรด้วยวิธีการดันออกมาเป็นกฎหมาย
เพื่อให้สถาบันทางการเงินนี้ เป็นกลไกพิเศษที่มีอิสระในการบริหารจัดการตนเองภายใต้นโยบายของรัฐบาล
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2534)