ชดช้อย โสภณพนิช "เราไม่ได้หวังจะล้มโครงการ"
ท่ามกลางกระแสต่อต้านรถไฟฟ้ายกระดับ ในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา ชื่อของสุภาพสตรีผู้มีความเกี่ยวข้องกับแบงก์ใหญ่อันดับหนึ่งของไทยอย่างคุณชดช้อย โสภณพนิช จะต้องเข้าไปแทรกในทุกอณูของข่าวเรื่องนี้ ด้วยความเป็นผู้มีความสนใจเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมมาแต่ไหนแต่ไร
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
ไต่สวนสาธารณะ มิติใหม่ของการเปิดเผยข้อมูล
การไต่สวนสาธารณะคดีประวัติศาสตร์ เริ่มต้นขึ้นเมื่อองค์คณะผู้พิพากษา ซึ่งประกอบด้วยอธิบดี และรองอธิบดี เข้าประจำที่องค์คณะได้ชี้แจงเป็นการล่วงหน้าก่อนว่า การไต่สวนเป็นกระบวนการของศาลที่หวังจะให้เกิดการประนีประนอมระหว่าง 2 ฝ่าย เพื่อมิให้คดียืดเยื้อต่อไปในครั้งแรก มีผู้เข้าฟังประมาณ 100 คน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
"720 ไร่ ขุมทองลาวาลิน"
โครงการระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนส่วนที่ 1 ขั้นที่ 1 ในกรุงเทพฯ ของลาวาลินที่ยืดเยื้อกันมานานถึง
3 ปี ในที่สุดก็วิ่งฝ่าเส้นชัยไปได้ถึงแม้จะไม่ค่อยราบรื่นนักก็ตาม
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2535)
"โครงการรถไฟฟ้า กทม. ยืดเยื้อ ธนายงเร่งสัญญาหวั่นพิษการเมือง"
ข่าวการลาออกจากตำแหน่งผู้ว่าฯ กทม. ของจำลอง ศรีเมืองเพื่อลงสมัครรับเลือกตั้งในนามหัวหน้าพรรคพลังธรรมเมื่อเร็ว
ๆ นี้ถ้าวิเคราะห์ผลกระทบในเชิงธุรกิจเกี่ยวกับโครงการระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนกรุงเทพมหานคร
นับว่าเป็นเรื่องราวที่ไม่ธรรมดา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
ที่สุดของโครงการรถไฟฟ้าเจ้าปัญหา
กรณีที่บริษัทลาวาลินได้รับสัมปทาน 30 ปีทำโครงการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนมูลค่าการลงทุนไม่ต่ำกว่า
55,000 ล้านบาทนั้น เป็นกรณีศึกษาถึงการแปรรูปรัฐวิสาหกิจบนกองผลประโยชน์มหาศาล
อันก่อให้เกิดผลกระทบต่อสังคมและประชาชน เนื่องจากโครงการนี้เป็นสาธารณูปการที่สำคัญ
และต้องเร่งให้เกิดขึ้น เพื่อแก้ไขวิกฤตการณ์การจราจรในกรุงเทพฯ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
230,000,000,000 บาท…เพื่อแก้ปัญหาจราจรหรือยิ่งแก้ยิ่งยุ่ง ?!
ประเทศไทยขณะนี้กำลังทดสอบแนวความคิดใหม่ที่อีกหลายประเทศยังไม่ทำกัน ก็คือการให้สัมปทานเอกชนในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน โดยเฉพาะสัมปทานในโครงการด้านการจราจร และขนส่งขนาดใหญ่อันเป็นความผูกพันระหว่างนักการเมืองกับนักลงทุนข้ามชาติอย่างมาก นับตั้งแต่มีแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2534)
รถไฟฟ้ามวลชน
การหาตัวผู้ลงทุนในโครงการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนที่ควรจะเสร็จสิ้นเมื่อเดือนมีนาคม
จนถึงวันนี้ก็ยังไม่มีวี่แววว่าจะลงเอยกันได้เมื่อไร
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2532)
เบื้องหลังศึกชิงงานประมูลโครงการรถไฟฟ้า "น้ำแยกสาย ไผ่แยกกอ"
ระบบรถไฟฟ้าเป็นโครงการหนึ่งของระบบขนส่งมวลชนที่นครใหญ่ ๆ ของโลกต่างให้บริการรับใช้คนในเมืองหลวงกันมานมนานแล้ว
ในบ้านเราเองเวลานี้ก็หยิบเอาโครงการนี้มาใช้บ้างทั้ง ๆ ที่โดยสภาพความเป็นจริงของปัญหาการจราจรควรจะเกิดขึ้นมานานก่อนหน้านี้แล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2531)