BTS ยุคงูกินช้าง
“พูดง่ายแต่ทำยาก” เป็นวลีที่คีรี กาญจนพาสน์ หรือหว่อง ท่ง ซัน ประธานกรรมการบริหาร BTS Group Holding ย้ำให้ฟังอยู่หลายครั้ง เมื่อถูกถามถึงกระบวนทัศน์และศักยภาพการฟื้นฟูกลุ่มธุรกิจ BTS และธนายงกรุ๊ป
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา สิงหาคม 2553)
คีรี กาญจนพาสน์ "นักสู้จำเป็น"
ถึงแม้ว่า ตลอดปี 2543 ที่ผ่านมา คีรี กาญจนพาสน์จะระดมกลยุทธ์ทกรูปแบบในการลดราคาค่าโดยสารเพื่อขนคนขึ้นรถให้ได้มากที่สุด เพื่อสู้กับภาระดอกเบี้ยที่แบกอยู่ถึง 8 ล้านต่อวัน แต่ ณ วันนี้ดูเหมือนว่าทำอย่างไรก็ไม่มีทางถึงเป้า 6 แสนคนต่อวันที่วางไว้
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2543)
คีรี กาญจนพาสน์ นักสู้แห่งทศวรรษ
รถไฟฟ้า BTS เปิดใช้มาเป็นเวลา 6 เดือนแล้ว ตั้งแต่เดือนมิถุนายน 2543 ที่ผ่านมา ดังนั้น วันนี้คีรี กาญจนพาสน์ ประธานกรรมการบริหาร จึงได้ฟันธงออกมา แล้วว่าตัวเลขของการใช้รถ ณ ปัจจุบันอยู่ที่ประมาณ 2 แสนคนต่อวัน และมีรายได้วันละประมาณ 4-5 ล้านบาทนั้น เป็นตัวเลข ที่แท้จริง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
บททดสอบทางธุรกิจรถไฟฟ้ากรุงเทพ
โครงการรถไฟฟ้าระบบขนส่งมวลชนกรุงเทพ ได้ฤกษ์เปิดให้บริการไปเมื่อวันที่ 5 ธันวาคมที่ผ่านมา นับเป็นความสำเร็จท่ามกลางความขัดแย้งในหมู่ผู้ถือหุ้นที่ยืดเยื้อมาจนถึงกระทั่งนาทีสุดท้ายก่อนรถออกวิ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2543)
ขุมทรัพย์สุดขอบฟ้าของ คีรี กาญจนพาสน์
ท่ามกลางซากปรักหักพังของเศรษฐกิจ รถไฟฟ้า BTS กลับฟันฝ่ามาได้โดยไม่ล้มพับลงมา เป็นเรื่องที่น่าคิดว่าปลายทางรถไฟฟ้ายังมีอะไร จนสร้างแรงบันดาลใจที่ยิ่งใหญ่ ทำให้คีรี กาญจนพาสน์ หยุดไม่ได้
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
เกษม จาติกวณิช รถไฟฟ้า BTS สุดยอดการทำงาน
บทบาทของเกษม จาติกวณิช มึความสำคัญอย่างมากต่อความสำเร็จของโครงการรถไฟฟ้าธนายง และประสบการณ์ที่เขาได้รับจากโครงการเป็นความยากลำบากที่สุดในชีวิตการทำงานของเขา
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
วิเชษฐ์ บัณฑุวงศ์ นักสร้างหนี้
โครงการรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนกรุงเทพ หรือที่รู้จักกันในชื่อว่า รถไฟฟ้าบีทีเอส สำเร็จเป็นรูปเป็นร่าง เปิดบริการได้เมื่อปลายปีที่แล้ว คนที่มีบทบาทสำคัญคนหนึ่งคือ วิเชฐ บัณฑุวงศ์ ซึ่งเป็นกรรมการบริหาร และผู้อำนวยการฝ่ายการเงิน ที่ต้องวิ่งเต้นหาแหล่งเงินกู้มาก่อสร้างโครงการ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
โครงการรถไฟฟ้า ทางออกหรือทางตันของบีทีเอสซี
"ผมดีใจนะว่า ในที่สุดเราก็ฟันฝ่าอุปสรรคต่างๆ ไปได้ระดับหนึ่ง สามารถเอารถไฟฟ้าของจริงเข้ามาได้
หลังจากที่ใครต่อใครคิดว่าเป็นแค่ความฝันของผม" คีรี กาญจนพาสน์ กรรมการบริหาร
บริษัทระบบขนส่งมวลชน (บีทีเอสซี) กล่าวกับ "ผู้จัดการรายเดือน"
เมื่อวันที่บริษัทบีทีเอสซีจัดให้มีการทดสอบระบบรถอย่างเป็นทางการครั้งที่ 2
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2541)
จุดวิกฤตก่อสร้าง บีทีเอส ปี 2541 หมดวาสนาเห็นรถไพฟ้า
ทันทีที่บีทีเอสตอกเสาเข็มต้นแรก เพื่อวางรากฐานราก โครงการ "รถไฟฟ้าธนายง"
ความวิตกกังวลของคนกรุงเทพฯ ก็คือ การจราจรจะต้องถึงจุดวิกฤตแน่ ไม่เพียงเท่านั้น
ยังมีคำถามตามมามากมาย โดยเฉพาะเส้นทางก่อสร้างที่ต้องผ่านสิ่งปลูกสร้างเดิม
ซึ่งแม้แต่บีทีเอส ก็ยังไม่มีคำตอบ ว่าจุดวิกฤตเหล่านั้นจะแก้ปัญหาอย่างไร?
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)