มองการโตของมินิมาร์ทผ่าน 3 ค่ายใหญ่
การเติบโตของร้านค้าสะดวกซื้อในสถานีบริการน้ำมันแม้จะอืดๆ ในช่วงต้นแต่ในช่วง
2-3 ปีที่ผ่านมาก็เริ่มคึกคักมากขึ้น ยิ่งมาในช่วงหลังรายได้จากน้ำมันไม่เป็นไปตามเป้า
เหล่าค่ายน้ำมันหันมาพึ่งรายได้จากร้านค้าสะดวกซื้อมากขึ้น เห็นได้จากการมีโครงการจัดตั้งบริษัทหรือแผนกชัดเจนเพื่อดูแลร้านค้าสะดวกซื้ออย่างเป็นสัดส่วนมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2540)
คาลเท็กซ์ยุคใหม่ปรับตัวก่อนตกดาว
คาลเท็กซ์ถึงคราวปรับตัวขนานใหญ่เหตุจากยอดขายที่ลดลงเรื่อย ๆ อย่างน่าเป็นห่วง
เพราะถูกมองว่าเข้า "วัยกลางคน" ไม่เหมาะกับ "วัยรุ่น"
ที่ใช้รถใช้น้ำมันกันอยู่เป็นส่วนใหญ่ จำต้องแต่งตัวใหม่ให้สดใสและทันสมัยกว่าเดิม
เริ่มจากเปลี่ยนโลโกและรูปลักษณ์สถานีบริการ หมายจะเป็นดาวจรัสแสงอีกครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
คาลเท็กซ์ตกต่ำจริงหรือ?
คาลเท็กซ์เข้ามาดำเนินกิจการค้าน้ำมันในประเทศไยเมื่อประมาณ 50 ปีก่อน ภายใต้ชื่อ
บริษัทน้ำมันคาลเท็กซ์ (ไทย) จำกัด มีฐานะเป็นสาขาของบริษัท คาลเท็กซ์ ปิโตรเลียม
คอร์ปอร์เร ชั่น
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
ร้านสตาร์มาร์ท…จุดขายใหม่ของปั๊มคาลเท็กซ์
ร้านสตาร์มาร์ทเป็นประดิษฐกรรมชิ้นหนึ่งที่คาลเท็กซ์ภูมิใจเป็นนักหนาว่า
ตนเองเป็นผู้นำร้านสะดวกซื้อประเภทนี้เข้ามาให้บริการในสถานีบริการน้ำมัน
แต่เนื่องจากใช้เวลาทดสอบไปนานหน่อยจึงทำให้คู่แข่งรายอื่นเปิดตัวและดังไปก่อน
แต่อย่างไรเสียต่อจากนี้ไปเมื่อเข้าใช้บริการในปั๊มของคาลเท็กซ์เราก็จะชินตากับร้านสตาร์มาร์ทนี้มากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
"เบนซินไร้สารตะกั่ว HCFC-123 และ HFC-134a ตัวการสำคัญช่วยลดมลพิษในอากาศ
85% ของปริมาณสารตะกั่วในเขตกทม. ซึ่งเป็นตัวการสำคัญที่ทำให้เกิดมลภาวะมาจากการใช้น้ำมันเบนซินชนิดที่มีสารตะกั่ว
และการลดลงของปริมาณก๊าซโอโซนในชั้นบรรยากาศเกิดจากการใช้สาร CFC ซึ่งเป็นสารที่ทำให้เกิดความเย็น
วิธีที่จะช่วยลดมลพิษของโลกได้ก็ด้วยการใช้สารทดแทนอื่นๆ คือ เบนซินไร้สารตะกั่ว
HCFC-123 และ HFC-134a
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2536)
"การตัดสินใจสำคัญของคาลเท็กซ์"
"ตราดาว" เครื่องหมายการค้าของบริษัทน้ำมันที่ยิ่งใหญ่ของสหรัฐ
เท็กซาโก้ เป็นยี่ห้อที่คุ้นตาคนไทยมานาน เท็กซาโก เข้ามาทำมาหากินค้าน้ำมันในเมืองไทย ในนามบริษัทคาลเท็กซ์ โดยไม่มีโรงกลั่นของตัวเองเหมือนกับเชลล์
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
3 ค่าย 3 กลยุทธ์โรงกลั่นเอสโซ่ถือไฟเหนือกว่าใคร
ปี 2534 ถือว่าเป็นปีแห่งโรงกลั่น…!!!
เมื่อวันที่ 30 ตุลาคมเชลล์นำโดย ม.ร.ว.สฤษดิคุณ กิติยากรประเดิมเซ็นสัญญาสร้างโรงกลั่นแห่งใหม่
ชนิดที่เรียกว่าตกลงกันได้แบบหวุดหวิดก่อนที่จะถูกยึดเงินประกัน 400 ล้านบาทในวันที่
2 พฤศจิกายน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
เซ็นสัญญาโรงกลั่นเชลล์ ชัยชนะของคาลเท็กซ์...!
กว่าฝันจะเป็นจริง...! 26 เดือนกับ 24 วันที่ ม.ร.ว.สฤษดิคุณ กิติยากร ต้องใช้ความอดทนต่อสู้อย่างยากเข็ญกว่าจะได้เซ็นสัญญาสร้างโรงกลั่นเชลล์เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2534 เฉียดเส้นตายที่ถูกขีดไว้เพียง 3 วัน แต่คาลเท็กซ์กลับกลายเป็นผู้ชนะ
เพราะจะได้สร้างโรงกลั่นที่สูงขึ้น ทั้งที่เชลล์ยืนหยัดปฏิเสธข้อเสนอเหล่านี้อย่างแข็งขันมาตลอด...!
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
เบื้องหลังโรงกลั่นคาลเท็กซ์ขย่มอำนาจสภาพัฒน์
กรณีที่นายกชาติชายอนุมัติให้ "คาลเท็กซ์" ตั้งโรงกลั่นแห่งที่
5 อย่างเฉียบพลัน และอาจจะตามมาด้วยโรงกลั่นที่ 6 ทั้งที่นโยบายเดิมกำหนดให้คัดเลือกผู้ตั้งโรงกลั่นใหม่คือแห่งที่
4 เพียงแห่งเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)
โรงกลั่นคาลเท็กซ์จะลงเสาที่ไหน
พลันที่พลเอกชาติชายอนุมัติให้คาลเท็กซ์ตั้งโรงกลั่นแห่งที่ 5 เพียงแค่บอกว่า
"ให้" โดยไม่มีรายละเอียดอะไรเลยเนื่องจากไม่ได้เตรียมแผนเรื่องนี้มาก่อน
ก็มีคำถามขึ้นมาทันทีว่าให้ตั้งเมื่อไหร่ที่ไหน เพราะทั้งอนุกรรมการฯและเจ้าหน้าที่สำนักงานคณะกรรมการนโยบายพลังงานเปิดเผย
"ผู้จัดการ" ว่ายังไม่ได้ศึกษาเรื่องนี้เลย
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)