ประภัสร์ จงสงวน แห่ง รฟม.ผอ.รัฐวิสาหกิจปลอดการเมือง?
เมื่อครั้งที่การทางพิเศษมีปัญหาในเรื่องข้อสัญญาเกี่ยวกับโครงการมากมาย นับจากการก่อสร้างทางด่วนขั้นที่ 1 จนถึงการสร้างแขวนพระราม 9 ที่ข้ามแม่น้ำเจ้าพระยา ตลอดจนโครงการรถไฟฟ้าลาวาลิน บทบาทเด่นของฝ่ายกฎหมายของการทางพิเศษฯ เด่นชัดขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2540)
พันธบัตร 900 ล้านบาทของโครงการรถไฟฟ้ามหานคร
โครงการรถไฟฟ้ามหานคร ได้เริ่มโครงการมาตั้งแต่ปี 2517 แต่เริ่มเป็นรูปเป็นร่างเมื่อ 2535 ในสมัยของนายก อานันท์ ปันยารชุน ซึ่งได้มีการก่อตั้ง "องค์การรถไฟฟ้ามหานคร" หรือ "รฟม." ขึ้น เป็นหน่วยงานรัฐวิสาหกิจ สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
แนวเส้นทางรถไฟฟ้ามหานคร
แนวเส้นทางรถไฟฟ้ามหานครทั้งหมดจะอยู่ใต้ดิน โดยเริ่มต้นจากสถานีรถไฟหัวลำโพงไปตามแนวถนนพระราม 4 เลี้ยวซ้ายเข้าถนนรัชดาภิเษกที่สี่แยกคลองเตย ตัดลอดถนนสุขุมวิท ไปตามแนวถนนอโศกถนนรัชดาภิเษก เลี้ยวซ้ายไปทางถนนลาดพร้าว ผ่านสถานีขนส่งหมอชิต เลี้ยวขวาไปตามถนนกำแพงเพชร สิ้นสุดที่สถานีรถไฟบางซื่อ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
"กุณฑล สุนทรเวช กับชมรมรักกรุงเทพ"
"ชมรมรักกรุงเทพ" เริ่มเป็นชื่อคุ้นหูคนเมืองหลวงมากขึ้น เมื่อเดือนสองเดือนมาแล้วนี่เอง ในฐานะหัวหอกเคลื่อนไหวคัดค้านการสร้างระบบขนส่งมวลชนแบบรถไฟลอยฟ้า ด้วยเหตุผลที่ว่าจะทำให้ทัศนียภาพของกรุงเทพฯ ซึ่งไม่ค่อยจะน่าดูอยู่แล้ว เป็นที่อุจาดตามากขึ้นไปกว่าเดิม ด้วยทางลอยฟ้าที่พาดไปพาดมาทั่วเมืองอีกทั้งเสียงที่เกิดจากขบวนรถไฟเวลาเบรคก่อนเข้าสถานี ก็เป็นตัวการสำคัญในการทำให้เกิดมลภาวะทางเสียงด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2537)