ปูนใหญ่เล็กไปแล้ว
ผมไม่ได้เขียนถึงบุรุษผู้นี้มานานถึง 2 ปีเต็ม อันเป็น ช่วงเดียวกับที่บทบาทของเขาเปลี่ยนแปลงไปจากเดิมอย่างมากมาย ข้อต่อของสถานการณ์สำคัญได้เริ่มต้นเกิดขึ้นมาตั้งแต่วิกฤติการณ์เมื่อ 5-6 ปีที่แล้ว วันนี้เครือซิเมนต์ไทยเล็กไปเสียแล้วสำหรับชุมพล ณ ลำเลียง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2546)
Re-launch TMA ความท้าทายใหม่ของ ดุสิต นนทะนาคร
เมื่อเวทีเศรษฐกิจการค้า ดำเนินไปท่ามกลางการแข่งขัน
และเพิ่มพูนความได้เปรียบด้วยเทคนิคการบริหารจัดการแผนใหม่ องค์กรวิชาชีพที่มีเกียรติประวัติและความเป็นมายืนยาวใกล้
40 ปี
แห่งนี้ กำลังปรับตัวพร้อมกับแสวงหาแนวทางเพื่อรองรับกับกระบวนการเหล่านี้อย่างมีนัยสำคัญ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
6 ปีที่ผ่านไป
ประชัย เลี่ยวไพรัตน์ และสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง เป็นสองลูกหนี้ที่ดำรงบทบาทอย่างมีสีสันมาก
ตลอดระยะเวลานับตั้งแต่ประเทศไทยต้องประสบกับวิกฤติเศรษฐกิจครั้งรุนแรงที่สุดในประวัติศาสตร์
ที่เริ่มตั้งแต่วันที่ 2 กรกฎาคม 2540 เป็นต้นมา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
งานใหม่ ชุมพล ณ ลำเลียง
ไม่มีใครเคยคิดว่า ชุมพล ณ ลำเลียงจะมีงานอื่นๆ นอกจากบริษัทกิจการ ในเครือสำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ งานที่ไม่ใช่การลงทุนส่วนตัว ในเรื่องหุ้นอสังหาริมทรัพย์ทั้งในและต่างประเทศที่เขาชอบ
หากเป็นงานที่ทำงานคล้ายๆ หรือเหมือนกับที่เขาทำในปัจจุบันกับตำแหน่งที่เปิดเผยต่อสาธารณชน
ที่สำคัญข่าวนี้ไม่มีแถลงมาจากเครือซิเมนต์ไทยแต่อย่างใด แต่สำหรับแวดวงธุรกิจถือว่าเป็นข่าวใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
The Key of Success
รางวัล Deming Prize ที่ปูนซิเมนต์ไทย (ทุ่งสง) ได้รับนั้น มีความหมายมากกว่าแค่เหรียญตราที่นำไปประดับไว้ในตู้โชว์ของบริษัท
รางวัลนี้เปรียบเสมือนตราประทับที่รับประกันสถานะของโรงงานปูนซีเมนต์ที่มีอยู่เพียงรายเดียวในภาคใต้แห่งนี้
ว่ามีความพร้อมที่จะกระโจนออกไปแข่งขันในเวทีที่กว้างกว่า ไม่ใช่เฉพาะแค่ภายในประเทศเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2546)
คู่แข่งคนสำคัญ
ครั้งหนึ่งปูนซิเมนต์ไทย เคยได้ชื่อว่าเป็นยักษ์ใหญ่ของวงการอุตสาหกรรม
ที่ไม่มีใครหาญกล้าขึ้นมาต่อกรด้วย โดยเฉพาะในธุรกิจหลักคือ ธุรกิจซีเมนต์ แต่หลังจากเกิดวิกฤติการเงินขึ้นในปี 2540 สถานการณ์ดังกล่าว ได้เปลี่ยนแปลงไป
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2546)
เมื่อ "อินทรีย์" บินลงมาชน "เสือ"
ดูจะเป็นเรื่องที่บังเอิญจริงๆ เมื่อ 2 บริษัทยักษ์ผู้ผลิต ปูนซีเมนต์รายใหญ่
อันดับ 1 และ 2 ของไทยตัดสินใจออกสินค้า ใหม่ ซึ่งเป็นสินค้าประเภทเดียวกัน
ในเวลาไล่เลี่ยกัน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2546)
C-Industry จากบรรษัทภิบาล สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้
เครือซิเมนต์ไทย องค์กรที่เป็นประหนึ่งต้นแบบของ บรรษัทภิบาลแบบไทย กำลังปรับแนวความคิดทาง
ธุรกิจใหม่อีกครั้ง เพื่อกาวสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ซึ่งนี่อาจเป็นทิศทางการพัฒนาองค์กร
ที่มีนัยสำคัญมาก อีกครั้งหนึ่งขององค์กรอุตสาหกรรมอายุกว่า 90 ปีแห่งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2546)
รางวัลแห่งความภาคภูมิใจ
งานฉลองการได้รับรางวัล Deming Application Prize ของปูนซิเมนต์ไทย ซึ่งจัดขึ้นในกลางเดือนธันวาคม
ดูเหมือนจะเป็นงานเลี้ยงสังสรรค์ให้กับพนักงาน ที่จัดอย่างยิ่งใหญ่ และรื่นเริงที่สุดในรอบ
5 ปี นับตั้งแต่ปูนซิเมนต์ไทย ต้องถูกดึงเข้ามา สู่ห้วงแห่งวิกฤติการเงินเช่นเดียวกับองค์กรอื่นๆ
ในประเทศไทย เมื่อหลายปีก่อน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2546)
เยื่อกระดาษสยาม "เรายังใหญ่ไม่พอ"
เมื่อ 27 ปีก่อน ธุรกิจกระดาษเป็นธุรกิจที่ปูนซิเมนต์ไทยไม่เคยคิดมาก่อนว่าจะเข้าไปจับ
การเข้ามายังธุรกิจนี้ของปูนซิเมนต์ไทยเกิดขึ้นโดยบังเอิญและไม่เต็มใจ แต่ในวันนี้ธุรกิจกระดาษได้กลายเป็น
1 ใน 3 ธุรกิจหลักที่สร้างรายได้ให้กับเครือซิเมนต์ไทยสูงที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2545)