Outsourcing ในนิยามของปูนใหญ่
การประชุม "SCC Accounting Summit 2004" ในคอนเซ็ปต์ที่ว่า "Sustainable Value Creation" ซึ่งเป็นการจัดการประชุมนักบัญชีองค์กรชั้นนำ ครั้งแรกของเครือซิเมนต์ไทย เป็นงานที่จัดขึ้นโดยมีนัยซ่อนเร้นอันลึกซึ้ง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2547)
ชุมพล ณ ลำเลียง ยังต้องเหนื่อยต่อไป
เขาเป็นผลผลิตของนักการเงิน หรือ MBA จากสหรัฐฯ รุ่นแรกๆ ที่มีอิทธิพลต่อโมเดลการบริหารธุรกิจไทยมายาวนานประมาณ
2 ทศวรรษ ในยุคสังคมการเงินทรงอิทธิพลอย่างยิ่งในสังคมไทย แต่เขาก็เป็น เพียงคนเดียวในกลุ่มนั้นที่ออกมาสู่ภาคการผลิตหลักของสังคมไทย
ภายใต้การบริหารด้วยโมเดลทางการเงินเป็นแรงขับเคลื่อนเครือ ซิเมนต์ไทยให้ขยายตัวอย่างมหัศจรรย์ในช่วง
20 ปีที่ผ่านมา
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2544)
ชุมพล ณ ลำเลียง ลูกจ้างผู้ทรงอิทธิพล
"15 ปี ไม่ใช่เป็นที่แน่นอน ผมเองยังไม่คิดถึงเรื่องนี้ ขอให้รอด 1-2 ปีแรกก่อน แล้วค่อยคิดในปีต่อๆ ไป ในใจคิดว่าจะไม่เกาะเก้าอี้ ถ้าคิดว่าตัวเองไม่เหมาะสม ล้าสมัย ก็จะพิจารณาตัวเอง อีกอย่างหนึ่งคือเราเป็นลูกจ้าง เราไม่ใช่เจ้าของ เพราะฉะนั้นก็ขึ้นอยู่กับคณะกรรมการว่า มีความพอใจมากน้อยแค่ไหน"
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2547)
งานแรกของ "กานต์ ตระกูลฮุน" ขนาดช้างยังต้องหลุดออกจากกรง
หากการไปร่วมนั่งแถลงผลการดำเนินงานงวด 6 เดือนแรกของเครือซิเมนต์ไทย เมื่อวันพุธที่ 28 กรกฎาคมที่ผ่านมา ถือเป็นงานแรกที่กานต์ ตระกูลฮุน ได้ปรากฏตัวต่อสาธารณะ ในฐานะรองกรรมการผู้จัดการใหญ่แล้ว การจัดงาน "Innovation Change for Better Tomorrow" ในวันพุธที่ 18 สิงหาคม คงต้องถือเป็นการแสดงผลงานชิ้นแรกที่มาจากฝีมือของเขาล้วนๆ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2547)
ทีมบริหารเครือซิเมนต์ไทย 2549
กานต์ ตระกูลฮุน จะเป็น "ลูกหม้อ" อย่างแท้จริงคนแรกที่ก้าวขึ้นเป็นผู้จัดการใหญ่ เขาใช้เวลาทำงานไต่เต้ายาวนานที่สุดในบรรดาผู้จัดการใหญ่ที่เป็น "คนใน" ถึงประมาณ 28 ปี ในฐานะที่ทำงานที่เครือซิเมนต์ไทยแห่งเดียวเท่านั้นในชีวิต ก็ถือว่าเป็นเวลาที่เหมาะสม
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2547)
IT one สู่สังเวียน Outsourcing
3 ปีแห่งการเดินทาง "IT one" ที่ต้องหล่อหลอม 2 วัฒนธรรม ระหว่างเครือซิเมนต์ไทย และ Accenture เพื่อก้าวสู่โลกใบใหม่ของธุรกิจ outsourcing อย่างเต็มรูปแบบ
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
Deming Prize เหรียญที่ 3 ของปูนใหญ่
ดูจะเป็นความตั้งใจอย่างแน่วแน่ของเครือซิเมนต์ไทย ที่จะต้องส่งผลงานการบริหารจัดการของบริษัทในเครือทุกกลุ่มอุตสาหกรรม เข้าชิงรางวัล Deming Prize ในแต่ละปี รางวัลดังกล่าว สมาพันธ์นักวิทยาศาสตร์และวิศวกรแห่งประเทศญี่ปุ่น (JUSE) ได้มอบให้กับบริษัทอุตสาหกรรมทั่วโลก ที่มีผลการดำเนินงานโดดเด่น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2547)
Growth Symbol
การเปิดแถลงข่าวอย่างเป็นทางการ ซึ่งจัดเป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ของสำนักงานทรัพย์สิน
ส่วนพระมหากษัตริย์ เมื่อกลางเดือนมีนาคมปีนี้ถือเป็นการประกาศความพร้อมในการกลับมาทำธุรกิจเชิงรุกอีกครั้ง
หลังจากต้องเก็บตัวเงียบมากว่า 5 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)
ชุมพล ณ ลำเลียง "วิกฤติครั้งหน้า ไม่ใช่ยุคผมแล้ว"
ผลสำเร็จในการปรับตัวครั้งใหญ่ของเครือซิเมนต์ไทยใช้เวลาประมาณ 4 ปีจากวิกฤติการณ์
ครั้งใหญ่ ในสายตาของวงการธุรกิจดูเป็นเรื่องน่าตื่นเต้น แต่สำหรับชุมพล
เขากลับมองว่า
นั่นคือจุดเริ่มต้นของปัญหาใหม่ที่ใหญ่ และถือเป็นงานชิ้นสุดท้ายของเขาที่ไม่มีโอกาสแก้ตัวเสียด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)
กานต์ ตระกูลฮุน ยังไง ๆ คนก็ย่อมมองมาที่เขา
"ผู้จัดการ" หยั่งเชิงกับเขาในลิฟต์ระหว่างการเยี่ยมชม Office ที่ตกแต่งใหม่
ว่าใครๆ ก็มองมาที่เขาที่จะเป็นทายาทของชุมพล ณ ลำเลียง เขาตอบทันทีว่า "no
comment" กานต์ ตระกูลฮุน ผู้ช่วยผู้จัดการใหญ่ที่ดูแลสำนักงานใหญ่เป็นคนเดียวที่มีอายุเหลือเกือบๆ
10 ปี หากชุมพล ณ ลำเลียง อำลาตำแหน่งผู้จัดการใหญ่ตามเวลาเกษียณ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)