อย่างนี้ต้องอย่างหนา
บริษัทที่มีอายุยืนยาวกว่า 70 ปี อย่างปูนใหญ่ย่อมต้องเคยผจญปัญหาร้อนหนาวมามาก
เพียงแต่ปัญหาในทศวรรษนี้มันลึกซึ้ง ปูนใหญ่กำลังเคลื่อนตัวอย่างอุ้ยอ้ายท่ามกลางตลาดภายในที่อ่อนตัวและคู่แข่งรายใหม่ที่กำลังห้าว
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
"ปูนใหญ่หลังยุคพารณ"
ปลายปีหน้า พารณจะครบเทอมของการต่ออายุงานในตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ปูนใหญ่
หลังจากที่เขาทำงานในหน้าที่นี้มานาน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2534)
สัญญาณปูนขาดมีมานานแล้วแต่รัฐบาลก็พลาด
ปัญหาปูนซีเมนต์ไทยขาดแคลน ที่จริงมีการพูดกันมานานเป็นปีทั้งจากการสัมนาการประชุมร่วมกับทางกระทรวงพาณิชย์สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไททยแต่ไม่มมีการเตรียมแก้ไขปัญหาผมแปลกใจ ทำให้คิดไปได้ว่าอาจจะมีเบื้องหลังอะไรหรือไม่
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)
MICRONETIC + MSE เบื้องหลังคือปูนใหญ่
หลังจากที่มิดเวสต์ สต๊อกเอ็กซเช้นจ์ (เอ็มเอสอี) ได้รับเลือกเป็นผู้ติดตั้งและรับผิดชอบการเปลี่ยนระบบการซื้อขายหลักทรัพย์ให้กับตลาดหลักทรัพย์ไทยโดยใช้ระบบคอมพิวเตอร์ของดิตอล
อีควีปเม้นท์คอร์ป (ดีอีซี) แล้วนั้น ไมโครเนติก ซึ่งเป็น 1 ใน 2 ของตัวแทนจำหน่ายคอมพิวเตอร์ดีอีซีในประเทศไทยจึงร่วมเป็นผู้มีผลประโยชน์ในงานนี้ขึ้นมาด้วยฝ่ายหนึ่งโดยทันที
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2532)
"เครือซิเมนต์ไทย ช้างก็ฉุดไม่อยู่"
ผู้บริหารระดับสูงหลายคนของเครือปูนใหญ่เคยให้เหตุผลกับ "ผู้จัดการ"
ต่อการขยายตัวของเครือซิเมนต์ไทยว่า ความใหญ่โตของปูนซิเมนต์ไทยเองทำให้ต้องเคลื่อนไปข้างหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง
มิฉะนั้นแล้วจะเกิดปัญหาขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2531)
ปูนใหญ่ JAPANIZATION
สมหมาย ฮุนตระกูล ขึ้นเป็นผู้จัดการเครือซีเมนต์ไทยช่วง 2519-2532 ต่อจากบุญมา
วงศ์สวรรค์ เขาต่างจากบุญมาตรงที่เขาเป็นนักเรียนเก่าญี่ปุ่นไม่เหมือนบุญมาที่เป็นศิษย์เก่าแอลเอสอี
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2530)
ชุมพล ณ ลำเลียง อัจฉริยะนักบริหารรุ่นใหม่
หากนับคนเก่งในแวดวงธุรกิจไทย ชุมพล ณ ลำเลียงสมควรจะอยู่ 1 ใน 10 ปัจจุบันชีวิตและงานของเขาอาจจะยังไม่กลมกลืนกับวัฒนธรรมองค์กรธุรกิจใหญ่บางองค์กร
แต่สำหรับอนาคตแล้วย่อมเป็นการกลมกลืนอย่างยิ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2530)
ปูนใหญ่ "ผ่าตัด"สยามคราฟท์ สงครามการบริหารที่ยิ่งใหญ่
ผู้นำระดับสูงเครือซีเมนต์ไทยหลายคนที่เคยผ่าน Harvard Business School
พวกเขาจะต้องเรียนวิชาเกี่ยวกับการเทคโอเวอร์กิจการ ศึกษากรณีในต่างประเทศโดยเฉพาะรัฐบาลอเมริกาซึ่งกำลังบ้าคลั่งในกิจกรรมเช่นนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2530)
ในที่สุดก็เหลือเพียงตำนาน
กิจการบริษัทสยามคราฟท์ดีขึ้นเป็นลำดับ ทว่าอาการดีขึ้นไม่มีทีท่าจะหักลบกลบหนี้ก้อนมโหฬารลงได้อย่างรวดเร็ว
มิหนำซ้ำหนี้สินที่มีอยู่ก็มิได้ลดลง อยู่ในระดับ 1,500 ล้านบาท (ตามงบการเงินนี้ไม่แสดงกำไรติดต่อกันถึง
5 ปีจากปี 2525-2529)
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2530)