"โรงเรียน-โรงงาน" ของทีพีไอ เสริมทัพอุตสาหกรรมของประชัย เลี่ยวไพรัตน์
เพราะการเติบโตแบบก้าวกระโดดของอุตสาหกรรมไทยด้านปิโตรเคมี, ปูนซีเมนต์,โรงกลั่นน้ำมัน ไปจนถึงโรงงานผลิตกระแสไฟฟ้า ทำให้เราหนีไม่พ้นปัญหาขาดแคลนบุคลากรเหมือนดั่งได้เกิดกับอุตสาหกรรมคอมพิวเตอร์ และโทรคมนาคมมาแล้วอย่างวิกฤติ แม้ในระยะสั้นจะแก้ปัญหาได้บ้างโดยใช้แรงงานสาขาใกล้เคียง และแรงงานนำเข้าจากต่างประเทศ แต่ระยะยาวยังถือว่าน่าเป็นห่วง
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
3+1 กลยุทธ์สู้อาณาจักรทีพีไอ
การที่ค่ายทีพีไอ ผู้บุกเบิกอุตสาหกรรมเม็ดพลาสติก และกล้าชนกับปูนใหญ่ด้วยการฝ่ายด่านลงสู่ธุรกิจปูน
แล้วยังแตกหน่อบริษัทออกไปมากมายในวันนี้พูดได้ว่า อาศัย 3 กลยุทธ์หลัก คือ
กล้า..ใหญ่..ลึก..และอีกปัจจัยเสริม ด้านเทคโนโลยี โดยมีประชัย พี่ใหญ่ตระกูลเลี่ยวไพรัตน์เป็นคนชูธงรบ..!
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2536)
อภิพร ภาษวัธน์ งานนี้ห้ามกระพริบตา
สงครามเศรษฐกิจระหว่างปูนซิเมนต์ไทย กับปิโตรเคมิกัลไทย (TPI) เป็นข่าวคราวที่หลายคน สงสัยว่าเกิดอะไรขึ้นกับยักษ์ใหญ่ทั้งสอง ที่จู่ ๆ หันหน้ามาชนกันยังกะเป็นศัตรูกันมานานนับศตวรรษ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
มังกร เกรียงวัฒนา ไฟแนนเซอร์มือหนึ่งค่าย TPI
ดีล เงินกู้ดอกเบี้ยต่ำจาก JAPANESE EXIM BANK ในวงเงิน 8,000 ล้านเยน ดูเหมือนจะ เป็นดีลที่มังกร เกรียงวัฒนา เจ้าหน้าที่บริหารระดับ SEVP ที่ดูแลด้านการเงินของบริษัทอุตสาหกรรม ปิโตรเคมิกัลไทย จำกัด (TPI) ภาคภูมิใจอย่างมากในบรรดาเงินกู้ที่ไฟแนนเซอร์มือหนึ่งรายนี้เคยทำมา
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2535)
"ด่าน "อาฟต้า" 5 ปีจะพิสูจน์ว่าใครแน่กว่ากัน…?"
อุตสาหกรรมพลาสติกและน้ำมันพืชเป็น 2 กลุ่มสินค้าใน 15 กลุ่มที่รับผลสั่นสะเทือนจากการจัดตั้งเขตการค้าเสรีอาเซียน
(AFTA) อย่างหนักหน่วง เพราะมีกำแพงภาษีสูงสุดถึง 40% ตามเป้าประสงค์ในการสลายธุรกิจที่ไม่ยอมโตด้วยตัวเอง
และ เพื่อผนึกกำลังต่อรองกับกลุ่มการค้าเฉพาะของโลกได้อย่างแข็งขันมากขึ้น
โดยใช้วิธีการทลายกำแพงภาษีให้หมดลงที่ 0% ใน 15 ปี และเริ่มลดเหลือ 20%
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2535)
"ศึกแทงค์ฟาร์ม" แนวรบชายฝั่งตะวันออก
ศึกแทงค์ฟาร์มกำลังระอุ เมื่อทางฝ่ายบริษัท ไทยแทงค์ขอเลื่อนการเซ็นสัญญากับกนอ.
(การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย) หลังจากที่บริษัทได้ชนะการประมูลสัมปทาน
30 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2535)
"ทีพีไอ : ตัวอย่างคลาสสิคของการประกันโรงปิโตรเคมี"
โรงปิโตรเคมีของบริษัทอุตสาหกรรมปิโตรเคมีคัลไทย จำกัด (ทีพีไอ) นับเป็นโรงปิโตรเคมีแห่งแรกที่เปิดดำเนินการผลิตในปี
2525 โดยมีการทำประกันวินาศภัยไว้กับบริษัทบางกอกสหประกันภัย จำกัด (บียูไอ)
ซึ่งทั้งสองบริษัทต่างก็เป็นกิจการของตระกูลเลี่ยวไพรัตน์
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2532)
ลมที่เปลี่ยนทิศของเลี่ยวไพรัตน์
เลี่ยวไพรัตน์เป็นกลุ่มธุรกิจที่พลิกแพลงตัวเองอยู่ตลอดเวลา เริ่มต้นสั่งสมทุนด้วยธุรกิจภาคเกษตรกรรมเป็นหลัก
ครั้นถึงจุดจุดพลุกลับหักเหเข้าสู่ภาคอุตสาหกรรมได้อย่างมีศักดิ์ศรี บัดนี้ส่งมอบสู่มือที่
2 ด้วยความมั่นคงและท้าทายที่จะเป็นผู้นำอุตสาหกรรมยุคใหม่อย่างแท้จริง…
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2531)