ศึกคลีนิค - โทนิคแนวรบฉากใหม่ของ "ลีเวอร์"
คดีฟ้องร้องธรรมดาที่กลายเป็นเรื่องใหญ่โต เพราะความยิ่งใหญ่ของคู่กรณี
ความน่าสนใจของเรื่อง คือ เป้าหมายของการฟ้อง และประเด็นการตอบโต้ของจำเลยที่ไม่ต้องรอให้ขึ้นศาลพิจารณา
และที่สำคัญ จุดหมายปลายทางของคดีก็ไม่ใช่คำตัดสินของศาล แต่อยู่ที่ความเปลี่ยนแปลงทางการตลาด
แถมยังมีคนบอกว่า ไม่ว่าคดีจะลงเอยอย่างไร ลีเวอร์มีแต่ได้กับได้
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
10 คดีตัวอย่าง "ละเมิดเครื่องหมายการค้า"
ทั้ง 10 คดีเป็นเพียงตัวอย่างจากคดีนับร้อย ๆ คดีเกี่ยวกับการละเมิดเครื่องหมายการค้าเท่านั้น
จะเห็นว่า โดยแท้จริงคดีการฟ้องร้องระหว่างลีเวอร์กับไลอ้อนก็เป็นเพียงกรณีหนึ่ง
แต่ที่อาจจะแตกต่างไปบ้าง
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2532)
4 ทศวรรษธุรกิจครอบครัว การบุกเบิก การสืบทอด และการเปลี่ยนแปลง
จากหน่ออ่อนที่มากต่อมาก จำกัดวงอยู่ในหมู่คนจีนโพ้นทะเลยุคหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ผู้นำหลายครอบครัวได้ให้กำเนิดธุรกิจของพวกเขาขึ้น ความเป็นนักบุกเบิกผู้ชาญฉลาดทำให้เขาประสบความสำเร็จสามารถก่อรูปเป็นอาณาจักรยิ่งใหญ่ และก็มีจำนวนไม่น้อยที่ต้องพังทลายไป
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2531)
บริการซักอบเสื้อผ้าแข่งกันเฟื่องเขตเมืองหลวง
ธุรกิจที่ออกจะใหม่สำหรับบ้านเราตอนนี้และได้รับความนิยมแพร่หลายมากพอสมควร สังเกตได้จากจำนวนสถานให้บริการที่แข่งกันผุดขึ้นแทบจะทุกชุมชนในกรุงเทพฯ ในระยะ 2-3 ปีที่ผ่านมา ธุรกิจที่ว่านี้ก็คือ บรรดาสถานบริการซักอบเสื้อผ้า หัวใจของธุรกิจประเภทนี้ก็คือ การจับเอาปัญหาร่วมของคนชั้นกลางในเมืองหลวง
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2528)
เทียม โชควัฒนา
คุณภาพซื่อสัตย์ราคายุติธรรม ในทุกยุคทุกสมัยของประวัติศาสตร์โลก
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2527)
การลงทุนของกลุ่มสหพัฒฯ
บริษัทในกลุ่มสหพัฒฯ แบ่งเป็นบริษัทสหพัฒนาอินเวสเมนต์ เป็นบริษัทแม่อยู่ศูนย์กลาง เป็นตัวลงทุนและมีบริษัทผู้ผลิตและบริษัทจำหน่ายล้อมรอบดังนี้
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2527)
บททดสอบตัวเองกับเครือสหพัฒฯ
ในชีวิตประจำวันของคุณมีไหมที่ไม่เคยได้สัมผัสหรือลิ้มรส ดม สินค้าของเครือสหพัฒฯ ดังต่อไปนี้บ้าง สบู่ : ลูกไก่ มะนาวบัวขาว มาริสา ลาโวนา ชิ้ค FOR US SAVON ยาสีฟัน : ซื่อสัตย์ โคลิโนส แซ็คไลออน โคโดโมไลออน แปรงสีฟัน : ไลอ้อน ออรัล-บี DR. WEST ซื่อสัตย์
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2527)
ปฏิภาณการดูลูกค้า
“สมัยก่อนที่สหพัฒฯ อยู่ในตรอกอาเนียเก็ง มีหลงจู๊ขายหน้าร้าน ผมนั่งอยู่ที่โต๊ะหลังร้าน เขียนจดหมายสั่งงานต่างๆ ปล่อยให้การขายของทุกอย่างอยู่ในความรับผิดชอบของหลงจู๊ วันหนึ่งมีลูกค้าคนหนึ่งมาสั่งของกับหลงจู๊แล้วเดินเลยเข้ามาคุยกับผม กล่าวชมหลงจู๊กับข้าพเจ้าด้วยเสียงอันดังว่า
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2527)
ยุทธการมุ่งโจมตีล่วงหน้าเพื่อยึดตลาด แผนเผด็จศึกในสงครามการตลาด
ท่านผู้อ่านที่สนใจติดตามความก้ามหน้าในวิทยาการทางการตลาด เมื่อเร็วๆ นี้จะสังเกตเห็นว่าปราชญ์ด้านการตลาด พยายามศึกษาค้นคว้าถึงพัฒนาการการแข่งขันด้านการตลาดในหลายๆ ด้าน ได้มีบทความเสนอเป็นตำราพิชัยสงครามการตลาด ออกมาหลายรูปแบบ นับตั้งแต่ ฟิลลิป คอทเลอร์ ปรมาจารย์ด้านการตลาดได้เขียนเรื่อง "สงครามการตลาด" ขึ้นในปี 1980 เป็นต้นมา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2527)