อานุภาพของคำว่า "ลดราคา"
นับว่าเป็นงานขายสินค้าที่จัดต่อเนื่องมายาวนานถึง 11 ปี สำหรับงานสหกรุ๊ปเอ็กซ์ปอร์ต แอนด์ เอ็กซิบิชั่น ของเครือสหพัฒน์ ทุกปีที่ผ่านไปจำนวนสินค้าและผู้คนที่เข้ามาร่วมงานก็ยิ่งมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2550)
ลีลา "ยักษ์ส่งออก" เมื่อรุกตลาดภายใน
แม้จะได้ขึ้นชื่อว่าเป็นผู้นำในธุรกิจผู้ผลิตและส่งออกผลิตภัณฑ์อาหารทะเลของประเทศ โดยมียอดขายกว่า 15,000 ล้านบาทในปีที่ผ่านมา และมีตลาดอยู่ในหลายประเทศทั่วโลก ทั้งอเมริกา แคนาดา แอฟริกาใต้ ญี่ปุ่น ออสเตรเลีย ตะวันออกกลาง เอเชีย อเมริกาใต้ และเกือบทุกประเทศในสหภาพยุโรป
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2550)
Channel 3 New Episode
BEC > No. 67 เป็นเวลามากกว่า 3 ทศวรรษ ที่ตระกูลมาลีนนท์บุกเบิกสถานีโทรทัศน์ช่อง 3 จากธุรกิจที่มีสภาพเกือบล้มละลาย ให้กลายเป็นธุรกิจมีรายได้และผลกำไร จนสามารถเข้าระดมทุนในตลาดหุ้นเป็นรายแรกของโทรทัศน์ไทย แม้กระทั่งในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ ความเข้มแข็งทางการเงินไม่เพียงแต่จะทำให้บีอีซีเวิลด์ไม่เจ็บตัวเหมือนคนอื่นๆ ยังได้ชื่อว่าเป็นบริษัทที่กำเงินสดในมือมากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2547)
Waseda Education วิสัยทัศน์ที่ลุ่มลึก
แม้พื้นที่โดยรวมของห้องเลขที่ 1511-1512 บนชั้นที่ 15
อาคารเอ็มไพร์ ทาวเวอร์ จะดูไม่ยิ่งใหญ่เมื่อเปรียบเทียบกับชื่อเสียง
และเกียรติประวัติกว่า 120 ปีของมหาวิทยาลัยวาเซดะ
ซึ่งเป็นที่มาของชื่อสถาบันแห่งนี้ และเล็กน้อยเหลือเกิน
หากพิจารณาจากสถานะของเครือสหพัฒน์ ที่เป็นต้นทางของแนวคิด
ในการร่วมมือจัดตั้งสถาบันภาษาและวัฒนธรรมญี่ปุ่นวาเซดะ
หากแต่วิสัยทัศน์ที่ถูกผลักให้หลบซ่อนอยู่ในพื้นที่ดังกล่าว
กลับดำเนินไปท่ามกลางมิติที่น่าสนใจยิ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
ธุรกิจการศึกษา บนเครือข่ายสายสัมพันธ์
การเปิดตัวหลักสูตรและสถาบัน การศึกษาใหม่ๆ อาจเป็นเพียงกิจกรรม ทางสังคมธุรกิจที่ปรากฏให้เห็นจนเจนตา
แต่ในอีกมิติหนึ่ง นี่คือภาพสะท้อนของ โครงข่ายสายสัมพันธ์ที่น่าสนใจติดตามยิ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2545)
"มิสทิน" หลังสิ้นยุคอมรเทพ ถึงเวลาที่สหพัฒน์ต้องออกหน้า
เมื่ออมรเทพ ดีโรจนวงศ์ ผู้ก่อตั้งและปลุกปั้นธุรกิจเครื่องสำอางค์มิสทินจนติดตลาด ต้องเสียชีวิตลงด้วยวัยเพียงไม่ถึง 60 ปี ทำให้หลายคนตั้งข้อสงสัยว่า อนาคตของมิสทินในช่วงหลังจากนี้จะเป็นอย่างไร
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2543)
"โชควัฒนา"; กับตำนานของกลุ่มสหพัฒน์
เกือบศตวรรษที่ผ่านร้อนผ่านหนาว ผ่านวิกฤติต่าง ๆ มาได้จนทุกวันนี้ เคล็ดลับแห่งความสำเร็จทั้งหมดถูกถ่ายทอดจากรุ่นพ่อสู่รุ่นลูก รุ่นหลานและรุ่นต่อ ๆ ไป…
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
สองบทบาทของสองเสี่ยในสหพัฒน์
บุญเกียรติรับหน้าที่สะพานเชื่อมโชควัฒนารุ่นที่ 3
จ่ายคืนหนี้-ไม่กู้เพิ่ม, ใช้คนน้อย-ค้าขายมาก และลดสินค้าค้างสต็อก นี่คือ
3 นโยบายหลักที่บุญยสิทธิ์นำมาใช้ในการบริหารงานของเครือสหพัฒน์ในยุคปัจจุบัน
ที่ต้องเติบโตอย่างมั่นคง ไม่มีการก้าวกระโดดให้เสี่ยงมากกว่าที่เป็นอยู่
เช่นเดียวกับที่บุญเกียรติ คุมเข้ม ไอ.ซี.ซี. ลดค่าใช้จ่าย ตัดสินค้าขาดทุน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2542)
"พันธมิตรยุทธศาสตร์ธุรกิจบีเอสเอ็น ถึงสหพัฒนฯ"
การจับมือร่วมลงทุนระหว่างกลุ่ม "บีเอสเอ็น" จากฝรั่งเศสกับ
"สหพัฒนพิบูล" หรือในนาม "สหกรุ๊ป" ของไทย โดยตั้งบริษัท
ดาน่อน (ประเทศไทย) จำกัดขึ้นมาเมื่อเร็วๆ นี้ ถือเป็นการรวมตัวทางธุรกิจครั้งสำคัญอันหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2535)
ถ้าไม่มีนายห้างเทียม
ไม่ใช่สิ่งที่จะต้องกังขาอีกแล้วสำหรับความใหญ่โตมโหฬารของกลุ่มธุรกิจที่เรียกตัวเองว่า
"สหกรุ๊ป" รวมทั้งอัจฉริยภาพอันหาได้ยากยิ่งของเทียม โชควัฒนา
หากแต่ลักษณะพิเศษของการ "แตกตัวออกไปโต" ด้วยกระบวนท่าเสมือน
"ไร้กระบวนท่า" ยังเป็นสิ่งที่จะต้องหาคำตอบกันต่อไปว่า
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2532)