ขยับขยาย
องค์กรที่ปรึกษาอิสระผู้เชี่ยวชาญงานวิจัยด้านการตลาดอุตสาหกรรมโทรคมนาคม ซอฟต์แวร์และบริการเทคโนโลยีที่ชื่อ “Ovum” เคยจัดอันดับประเทศที่มีการเติบโตของตลาดบรอดแบนด์สูงสุด พบว่าประเทศไทยติด 1 ใน 10 ร่วมกับอินโดนีเซีย อินเดีย เวียดนาม ฟิลิปปินส์ รัสเซีย กรีซ ไอร์แลนด์ ตุรกี และยูเครน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2551)
Showroom Bus
"โชว์รูมเคลื่อนที่" กลยุทธ์เก่าภายใต้สถานการณ์ใหม่ หลายครั้งที่เราพบเห็นการนำรถยนต์ ในรูปแบบต่างๆ มาเป็นสื่อกลางในการขายสินค้าในท้องถิ่นหรือพื้นที่ที่เข้าถึงยาก การที่ผู้ผลิตหรือผู้จำหน่ายลดช่องว่างของการเข้าถึงสินค้าด้วยการเดินทางไปหาลูกค้าด้วยตนเอง ถือเป็นทางออกที่เรียกว่า ได้ผลเสมอไม่ว่าจะยุคไหนสมัยไหน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2548)
Cyber Home Concept in ICT Expo 2004
ความต้องการที่จะให้เมืองไทยเป็น ICT Hub หรือศูนย์กลางเทคโนโลยีแห่งใหม่ในอาเซียนในอีก 4 ปีข้างหน้า กระทรวงไอซีทีจึงได้จัดงาน Bangkok International ICT Expo 2004 ขึ้นมาชิมลางเป็นครั้งแรก
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2547)
ยกเครื่องเคาน์เตอร์เซอร์วิส
No staff.. no stock.. all electronics เป็น 3 คัมภีร์ธุรกิจ ที่ทำให้เคาน์เตอร์เซอร์วิส พลิกจากขาดทุนจนมีผลกำไร และก็ถึงเวลาที่พวกเขาต้องยกเครื่องระบบหลังบ้านครั้งใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2547)
สัญญาณดีของ TT & T
บริษัททีทีแอนด์ที จำกัด (มหาชน) หรือ TT&T ขนทัพสื่อมวลชนกว่า 20 ชีวิตสู่เมืองนครพิงค์ เชียงใหม่ เพื่อร่วมพิธีเปิดตัว T-Speed อินเทอร์เน็ตความเร็วสูง (Boardband Internet) เอาฤกษ์เอาชัยที่เชียงใหม่ก่อนจะขยายไปยังขอนแก่น ภูเก็ต และทั่วประเทศต่อไป
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2547)
CEO คนใหม่ TT&T
การมารับเก้าอี้ใหญ่ใน TT&T ของประจวบ ตันตินนท์ และ
สุรซ ล่ำซำ น่าจะเป็นช่วงที่ต้องเผชิญความท้าทายมากที่สุด
ในชีวิตการทำงานอีกครั้งหนึ่งของเขาทั้งสอง
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2547)
11 ปี TT&T
แม้จะไม่ได้จัดงานครบรอบใหญ่โต เหมือนองค์กรอื่นๆ แต่งานครบรอบ 11 ปี ย่อมมีความหมาย ครบรอบ 11 ปีทั้งทีย่อมมีความหมาย แม้จะเลือกโรงแรมระดับ 5 ดาว อย่างโรงแรม
โอเรียนเต็ลมาเป็นสถานที่จัดงาน แต่งานนี้ไม่ได้จัดแบบใหญ่โต
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2546)
ติดโทร 4.1 ล้านเลขหมายเสร็จแค่จุดสตาร์ทของทีเอและทีทีแอนด์ที
แม้ว่าเทเลคอมเอเชีย คอร์ปอเรชั่น จำกัด หรือทีเอ และไทยเทเลโฟน แอนด์ เทเลคอมมิวนิเคชั่น
จำกัด หรือทีทีแอนด์ที จะสามารถส่งมอบโทรศัพท์จำนวน 4.1 ล้านเลขหมายได้ทันตามกำหนดที่
ทศท. ขีดเส้นตายเอาไว้ในวันที่ 30 กันยายน 2539 ที่ผ่านมา แต่ไม่ได้หมายความว่า
ภารกิจของทั้งทีเอและทีทีแอนด์ทีจะสิ้นสุด แต่กลับเป็นเพียงแค่การเริ่มต้นเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2539)
ทองฉัตร หงส์ลดารมภ์ ประสานประโยชน์ผู้ถือหุ้นใน TT&T
"ดร.ทองฉัตร หงส์ลดารมภ์" เข้ามารับตำแหน่งกรรมการผู้จัดการใหญ่ ตำแหน่งใหม่ใน TT&T นอกจากจะเป็นอีกก้าวของการเข้าสู่งานเทเลคอมฯ ที่ท้าทายสำหรับตัว ดร.ทองฉัตร เอง หลังจากที่มีผลงานมามากในธุรกิจพลังงาน ดร.ทองฉัตร ยังถูกมองว่า เข้ามาลดแรงเสียดทานระหว่างบทบาทของ ดร.อดิศัย โพธารามิก และกลุ่มล็อกซเล่ย์ ผู้ถือหุ้นอันดับ 2 ของ TT&T
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2539)
4 กลุ่มใหญ่ต้นกำเนิด TT&Tจัสมิน & ล็อกซเล่ย์ ใครใหญ่จริง
หลังจากรัฐบาลอานันท์ ปันยารชุน มีนโยบายให้หั่นโครงการโทรศัพท์ 3 ล้านเลขหมายที่กลุ่มซีพีเป็นผู้ประมูลได้ให้เหลือเพียง 2 ล้านเลขหมาย และให้ทำเฉพาะในเขตกรุงเทพ ส่วนเหลืออีก 1 ล้านเลขหมายให้เปิดประมูลใหม่และให้ขยายในต่างจังหวัด ซึ่งกลุ่มล็อกซเล่ย์ จัสมิน อินเตอร์เนชั่นแนล ภัทรธนกิจ อิตาเลี่ยนไทย และกลุ่มเอ็นทีทีเป็นผู้คว้าชัยชนะไปในครั้งนั้น
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2539)