Mekhong Community TV
แม้จะมีปัญหาส่วนตัวที่เคลียร์ยังไม่จบระหว่าง บริษัท ไอทีวี จำกัด (มหาชน) และสำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี ซึ่งสั่งให้ปรับผังรายการพร้อมเรียกเงินชดเชยผลประโยชน์ตอบแทนย้อนหลังจากไอทีวีด้วยวงเงินที่สูงกว่า 76,000 ล้านบาทก็ตาม
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2549)
ไอทีวี : จุดเริ่มต้น-เปลี่ยนแปลง ที่มักมาหลังวิกฤต
เจตนารมณ์ในการจัดตั้งสถานีโทรทัศน์ไอทีวี มีที่มาจากวิกฤติการณ์ "พฤษภาทมิฬ" ในปี 2535 ซึ่งผู้คนในสังคมถูกปิดหูปิดตาจากสื่อของรัฐ ทั้งวิทยุและโทรทัศน์ ทำให้ไม่สามารถรับรู้ข้อมูลข่าวสารสถานการณ์ที่แท้จริงบนถนนราชดำเนินที่รุนแรงถึงขั้นมีผู้คนบาดเจ็บล้มตายเป็นจำนวนมาก
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2549)
ผลงานชิ้นแรกใน ITV
นับแต่วันที่ 1 เมษายนเป็นต้นไป ผังใหม่ไอทีวีจะถูกนำมาใช้ เป็นผังที่ได้รับการจัดโดยไตรภพ
ลิมปพัทธ์ ผู้ถือหุ้น 10% และรั้งตำแหน่งผู้บริหารไอทีวี เป็นตำแหน่งที่นิวัตน์ธำรง
บุญทรง ไพศาล ประธานกรรมการบริหาร บริษัทไอทีวี บอกว่าอยู่ในวาระพิจารณาของบอร์ดไอทีวี
แต่ที่แน่ๆ เป็นตำแหน่ง "ผู้บริหารระดับ สูง"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2547)
ไตรภพ ลิมปพัทธ์ "Role Model"
ข่าวไอทีวีจับมือไตรภพ ลิมปพัทธ์และกันตนากรุ๊ป 2 ยักษ์ใหญ่ทางด้านเกมโชว์และละคร
เป็น Strategic Partner ที่เพิ่มศักยภาพให้กับสถานี นอกเหนือจากจุดแข็งด้านรายการข่าว
นับว่าเป็นการขับเคลื่อนกลยุทธ์ทางการตลาดที่สำคัญในวงการโทรทัศน์เมืองไทยเลยทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2547)
ITV เขย่าองค์กรอีกรอบ
ถึงแม้ว่าไอทีวีจะพยายามอย่างหนักในการปรับเปลี่ยนบุคลิก รูปแบบ เนื้อหา และผังรายการให้สอดคล้องกับบุคลิกของการเป็นทีวีเพื่อคนรุ่นใหม่ ภายใต้นิยามว่า I Generation ด้วยคอนเซ็ปต์ที่ฟังดูร้อนแรง Speed & Spice
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2546)
สงครามข่าวทีวีแค่เริ่มต้น
ตราสัญลักษณ์ รูปดวงตาสีม่วงที่ปรากฏโฉมอยู่ด้านล่างขวาของหน้าจอโทรทัศน์ พร้อมกับพิธีกรหนุ่มสาวหน้าใหม่
ด้านหลังของพวกเขาคือ ฉากใหม่ของสตูดิโอเก่า ที่ถูกแต่งแต้มเพิ่มสีสันใหม่ให้กับสถานีโทรทัศน์ช่อง
9 อันเป็นส่วนหนึ่งของการปรับเปลี่ยนเข้าสู่ความเป็นโมเดิร์นไนน์ทีวี
(บทความจาก BIG TV. THE ERA OF CHANGING หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic กันยายน 2546)
ทรงศักดิ์ เปรมสุข Trend setter
การย้ายทรงศักดิ์ เปรมสุข จากรองกรรมการผู้อำนวยการฝ่าย การตลาดเอไอเอสเป็นการ "สานต่อ" งานจากสรรค์ชัย เตียวประเสริฐกุล ที่ได้ลงหลักปักฐานไปมากแล้ว สิ่งที่ทรงศักดิ์ต้องทำคือ การเพิ่มโทนสีสัน รูปแบบการนำเสนอที่เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่เป็น ผู้ชมในระดับ mass เป็นเป้าหมาย หลักที่ไอทีวีกำลังจะฉีกบุคลิกเดิมๆ ของไอทีวี
(บทความจาก BIG TV. THE ERA OF CHANGING หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic กันยายน 2546)
กว่าจะเป็นโมเดิร์นไนน์ทีวี
ปรากฏการณ์ที่เกิดกับสถานีโทรทัศน์ในเวลานี้ คงไม่มีเหตุการณ์ครั้งไหนที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงได้มากเท่ากับสิ่งที่เกิดกับสถานีโทรทัศน์ช่อง
9 และไอทีวีในเวลานี้ ที่สะท้อนถึงความ เข้าใจพลังอำนาจ และทรัพย์สินที่แท้จริงของการเป็นสื่อโทรทัศน์
อย่างไรก็ตาม การสร้างรายการข่าวให้เป็นจริงทางธุรกิจยังเป็นโจทย์ ใหญ่ที่ยังต้องหาคำตอบกันต่อไป
(บทความจาก BIG TV. THE ERA OF CHANGING หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic กันยายน 2546)
ไอทีวีภาค 2ยุคชินคอร์ปครอง
ชินคอร์ปประสบความสำเร็จอย่างดีจากธุรกิจโทรคมนาคม การก้าวเข้าสู่ธุรกิจโทรทัศน์เป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดในการที่จะ
convergence เชื่อมโยงธุรกิจต่างๆ ในมือเข้าด้วยกัน สำหรับการสู่โลกใบใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
แต่ชินคอร์ปอาจลืมไปว่า ธุรกิจโทรทัศน์ไม่เหมือนกับธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ที่ไม่อาจใช้เพียงแค่กลไกของธุรกิจ
แต่จำเป็นต้องเข้าใจประสบการณ์ใหม่ ที่ชินคอร์ปยังต้องอาศัยเวลาในการเรียนรู้
(บทความจาก BIG TV. THE ERA OF CHANGING หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic กันยายน 2546)