อันดับ 6 สุทธิชัย หยุ่น
เหตุการณ์บ้านเมืองในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา น่าจะเป็นประเด็นสำคัญที่ทำให้ผู้อ่านนิตยสาร "ผู้จัดการฯ" เลือกเสนอชื่อสุทธิชัย หยุ่น ให้ขึ้นมาอยู่ใน 10 อันดับ Role Model ประจำปี 2551
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2552)
Restart Thailand.com
4 ปีที่แล้ว Thailand.com เปิดตัวอย่างใหญ่โตในโรงแรมหรูกลางกรุง โดยกลุ่มเนชั่นที่ตัดสินใจลงทุนร่วมกับเสริมสิน สมะลาภา ซึ่งเคยมีประสบการณ์ธุรกิจดอทคอมจากการเป็นเจ้าของธุรกิจเว็บไซต์ mr.home.com
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2547)
ไอทีวีภาค 2ยุคชินคอร์ปครอง
ชินคอร์ปประสบความสำเร็จอย่างดีจากธุรกิจโทรคมนาคม การก้าวเข้าสู่ธุรกิจโทรทัศน์เป็นส่วนหนึ่งของแนวคิดในการที่จะ
convergence เชื่อมโยงธุรกิจต่างๆ ในมือเข้าด้วยกัน สำหรับการสู่โลกใบใหม่ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต
แต่ชินคอร์ปอาจลืมไปว่า ธุรกิจโทรทัศน์ไม่เหมือนกับธุรกิจสื่อสารโทรคมนาคม ที่ไม่อาจใช้เพียงแค่กลไกของธุรกิจ
แต่จำเป็นต้องเข้าใจประสบการณ์ใหม่ ที่ชินคอร์ปยังต้องอาศัยเวลาในการเรียนรู้
(บทความจาก BIG TV. THE ERA OF CHANGING หนังสือเล่มโครงการ Manager Classic กันยายน 2546)
"คม ชัด ลึก" สินค้าใหม่ในตลาด นสพ.หัวสี
ไม่เพียงแต่ยักษ์ใหญ่อย่าง "ไทยรัฐ "เท่านั้น แต่น่าเชื่อว่าหนังสือพิมพ์หัวสีจากค่ายอื่น
อย่าง "เดลินิวส์" หรือ "ข่าวสด" ก็ต้องจับตาการเปิดตัวของหนังสือพิมพ์
หัวสีรายใหม่ "คม ชัด ลึก" ของเครือเนชั่น เมื่อเดือนก่อน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2544)
ทำไมต้องมี นสพ.เนชั่น "คมชัดลึก"
ถึงแม้ว่าในช่วงหลายปีมานี้ เนชั่นจะขยายบทบาท เข้าไปยังสื่อทีวี แต่ในสถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไป
เนชั่นก็ต้องหันมาเพิ่มบทบาทธุรกิจสิ่งพิมพ์
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2544)
ทีวีเสรีตายไปแล้ว
ปัญหาวิกฤติที่เกิดขึ้นกับไอทีวีในเวลานี้ ไมใช่วิกฤติ
ครั้งแรกที่เกิดขึ้นกับสถานีโทรทัศน์ที่เกิดขึ้นมาจากเหตุการณ์พฤษภาทมิฬ
ในสมัยของรัฐบาลอานันท์ ปันยารชุนที่ต้องการแก้ปัญหาในเรื่องที่สื่อทีวีถูกครอบงำ
จึงได้อนุมัติให้มีการเปิดประมูลสัมปทานโทรทัศน์ ที่ใช้คลื่นความถี่ยูเอชเอฟ
โดยมีเงื่อนไขว่าจะต้องมีผู้ถือหุ้น 10 รายขึ้นไป และห้ามถือหุ้นเกิน 10%
เพื่อให้เป็นไปตามเจตนารมณ์ของการเป็นสื่อเสรีที่จะไม่ถูกครอบงำโดยเอกชนรายใดรายหนึ่ง
ซึ่งเวลานั้นมีกลุ่มทุนสิ่งพิมพ์เข้าร่วมประมูลเป็นจำนวนมาก ไม่ว่าจะเป็นไทยรัฐ
เดลินิวส์ ผู้จัดการ บางกอกโพสต์ เนชั่น
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2544)
เนชั่นบวกไอทีวี รวมพลังหารสอง
ความร่วมมือที่ลงตัวระหว่างเนชั่นกับไอทีวี เพื่อผลิตรายการเลือกตั้ง เกิดขึ้นในขณะที่เนชั่นชาแนล 8 กำลังมีปัญหาในเรื่องรายได้ และไอทีวีกำลังมีปัญหาในเรื่องภาพลักษณ์ความเป็นกลาง และปัญหาภายในในองค์กร ความร่วมมือนี้จะดำเนินไปอย่างไร และเนชั่นจะหาทางออกให้กับตัวเองต่อไปอย่างไรในอนาคต
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2543)
น้ำผึ้งขมที่เนชั่นชาแนล
กว่า 6 เดือนเต็มของเนชั่นชาแนล 8
ท่ามกลางมรสุมรอบด้าน อาจทำให้เนชั่น และยูบีซี ต้องหันมาทบทวนบทบาทของตัวเอง
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2543)
NATION CHANNEL อิทธิพลของ content
ได้ฤกษ์เปิดตัวอย่างเป็นทางการช่องข่าว "เนชั่นชาแนล" ทางช่อง
8 ของยูบีซี ท่ามกลางอุณหภูมิความขัดแย้งไอทีวี
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2543)
เดิมพันของเนชั่น
สิ่งที่เนชั่นทำในเรื่องอินเตอร์เน็ตเวลานี้ ไม่ได้เป็นเพียงแค่การปรับตัวของ "สื่อเก่า" ที่ต้องเตรียมพร้อมต่อการมาของสื่ออินเตอร์เน็ตเท่านั้น แต่เป็นการเดิมพันครั้งใหม่ของเนชั่น ที่แตกแขนงเข้าไปสู่โลกธุรกิจใบใหม่อย่างครบวงจร มองตลาดต่างประเทศยิ่งกว่าตลาดภายใน นับเป็นการตัดสินใจที่ท้าทายและน่าจับตามากที่สุดอีกครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2543)