นับหนึ่ง "เทเลคอมเอเซีย" เครือข่ายโทรคมนาคมกำลังเป็นจริง
ในงานแถลงผลการดำเนินการในรอบปี ของบริษัทเทเลคอมเอเซีย คอร์ปอเรชั่น ที่ดร.อาชว์ เตาลานนท์ กรรมการผู้จัดการใหญ่ ประกาศดังๆ แล้วว่า ในปี 2539 จะเป็นปีแห่งการเริ่มบริการเสริมและบริการต่อเนื่องใหม่ๆ อีกหลายโครงการ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2539)
ทุนสื่อสาร การเคลื่อนทัพของเงินและอำนาจ
ในช่วงเวลาไม่ถึง 10 ปีมานี้ ทุนสื่อสารได้เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็ว แซงหน้ากิจการที่เคยทรงอิทธิพลในอดีตอย่างเกษตรกรรม อุตสาหกรรม อสังหาริมทรัพย์ อย่างไม่ติดฝุ่น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
ธุรกิจโทรคมนาคมในประเทศไทย : ภาคการเมือง
Gerald R. Faul Haleer เป็นบุคคลแรกที่ให้ความรู้กับผมว่าตั้งแต่ Alexander
G.Bell ประดิษฐ์โทรศัพท์เครื่องแรกในโลก นอกจาก Bell จะสูญเสียผลประโยชน์จากกฎหมายสิทธิบัตร
(Patent) ที่คุ้มครองโทรศัพท์ซึ่งเป็นสิ่งประดิษฐ์ของเขาไม่ได้เท่าที่ควรอันสืบเนื่องมาจากความใหม่ของกฎหมายว่าด้วยสิทธิบัตรเวลานั้น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2538)
ชินวัตร จัสมิน ทีเอ ยูคอม รบในไทยไม่พอต้องไปต่อที่อินเดีย
อินเดีย ดินแดนแห่งอารยธรรมเก่าแก่ของโลก มีพลเมืองมากกว่า 900 ล้านคน
กำลังกลายเป็นแม่เหล็กชิ้นใหญ่ ที่ดึงดูดทุนสื่อสารจากทั่วทุกมุมโลกให้หลั่งไหลเข้าในประเทศ
หลังจากนโยบายเปิดเสรีให้เอกชนเข้าไปลงทุนในกิจการโทรคมนาคม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2538)
วีดีโอแท็กซ์ ทางวิบากของซีพี
เส้นทางสู่ธุรกิจในคลื่นลูกที่ 3 ของซีพี นับว่า สดใสและรอวันเติบโตอย่างต่อเนื่อง
เช่นเดียวกับ อุตสาหกรรมการเกษตรที่ผ่านมาทว่า บนเส้นทาของความสำเร็จ ย่อมมีขวากหนามปะปน
บริการวิดีโอเท็กซ์ คือบทเรียนหนึ่งที่กลุ่มซีพีต้องทบทวน
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2538)
ไทยเคเบิ่ลวิชั่น มางด่วนข้อมูล มาแล้ว
โครงการเคเบิ้ลทีวี ของเทเบิ้ลทวีจะเปิดดำเนินงานอย่างเป็นทางการในปี 2538
โดยส่งสัญญานผ่านเครือข่ายไฟเบอร์ออฟิตคของโครงการโทรศัพท์สองล้านเลขหมายเข้าตามบ้าน
การเข้ามาในธุกริจเคเบิ้ลทีวีของน้องใหม่ ฟอร์มใหญ่รายนี้ ทำให้วงการนี้ต้องสั่นสะเทือน
ผู้มาก่อนต้องตั้งการ์ดเตรียมตอบโต้กันขนานใหญ่
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2537)
วิกฤตบุคลากรโทรคมนาคม มีเงิน มีงาน แต่ไม่มีคน
เมื่อปัญหาเงินเดือน ค่าจ้างแรงงาน สวัสดิการ ผลตอบแทน กลับมาเป็นประเด็นหลักของการไหลของบรรดาบุคลากรโทรคมนาคม จากรัฐสู่เอกชนและจากเอกชนบริษัทหนึ่งสู่อีกบริษัทหนึ่ง โดยเฉพาะกับบริษัทที่ทำธุกริจด้านโทรคมนาคมในปัจจุบัน
ความต้องการบุคลากรที่อยู่เหนือความสามารถที่รัฐพึงจะสนองให้ได้นำมาสู่ความวิบัติของบุคลากรโทรคมนาคมหรือไม่
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2537)
"โครงการ 2 ล้านเลขหมาย ไม่ต้องขุดถนนก็ได้ แต่แพง !"
ผิวถนนในกรุงเทพมหานครนั้น ไม่เคยว่างเว้นจากการถูกขุดเจาะจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
กับระบบสาธารณูปโภคทั้งหลายไม่ว่าจะเป็นการไฟฟ้า การประปาหรือองค์การโทรศัพท์
ซึ่งต่างคนต่างทำ ไม่เคยมีการวางแผนประสานกันเลย จึงเกิดการขุดกันแล้วขุดกันอีก
ชั่วนาตาปีและที่มีผลกระทบอย่างมากก็คือการจราจรที่ติดขัดอยู่แล้วยิ่งต้องเลวร้ายหนักลงไปอีก
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2537)
"TA จ้าวไฮเวย์อิเล็คโทรนิคส์"
โครงการโทรศัพท์ 2 ล้านเลขหมายในกรุงเทพ ของเทเลคอมเอเซีย ไม่ใช่แค่โทรศัพท์ธรรมดา
!! ด้วยเทคโนโลยีการสื่อสารที่ทันสมัยที่สุดของโลก และด้วยสายตาที่ยาวไกลมองทะลุถึงความหมายของธุรกิจการสื่อสารในโลกปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2537)
"อาณาจักร ทีเอ."
บริษัทนิลุบล จำกัด ถือหุ้นโดยบริษัทเทเลคอม โฮลดิ้ง 99.99% ของทุนจดทะเบียน
100 ล้านบาท ทำหน้าที่จัดซื้อที่ดินพร้อมสิ่งปลูกสร้าง สำหรับใช้เป็นสถานที่ในการติดตั้งอุปกรณ์เครื่องชุมสาย
(RCU) ในโครงการโทรศัพท์ 2 ล้านเลขหมาย
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2537)