Visual radio ปฏิวัติ "วิทยุ"
นอกจากจะเป็นปีที่อาร์เอสต้องประสบกับภาวะผันผวนของรายได้แล้ว ยังเป็นปีที่ค่ายเพลงอาร์เอสต้องหันมาเอาจริงเอาจังกับเรื่อง "ไอที" มาใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาโอกาสใหม่ๆ เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของดิจิตอล
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2547)
อาร์.เอส. เปิดร้าน Music store ขายเพลงดาวน์โหลดออนไลน์
ภาวะผันผวนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ทำให้ค่ายเพลงของเมืองไทยต้องพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาส สำหรับค่ายเพลงแล้ว "เทคโนโลยี"เป็นทั้งอุปสรรคและโอกาส ส่งผลกระทบต่อรายได้ต้องลดลงอย่างน่าใจหาย จากซอฟต์แวร์ burn CD
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2547)
Kantana The Experienced
จากคณะละครวิทยุเล็กๆ เมื่อ 52 ปีก่อน
วันนี้ กันตนากรุ๊ป กลายเป็นผู้ผลิตรายการโทรทัศน์รายใหญ่ของเมืองไทย
เป็นผู้นำในการนำเอาระบบเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้กับวงการบันเทิง
รวมทั้งคิดการใหญ่สร้างกันตนา มูฟวี่ ทาวน์ และมหาวิทยาลัยกันตนา
สถาบันด้านการแสดงแห่งแรกของประเทศไทย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2546)
GMM Pictures & RS.Film
สิ่งหนึ่งที่ ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม แห่งแกรมมี่กรุ๊ป กับสุรชัย เชษฐโชติศักดิ์ แห่งค่ายอาร์.เอส.โปรโมชั่น คิดตรงกันอีกครั้งก็คือ การเข้าไปเป็นบริษัทอำนวยการสร้างภาพยนตร์ในระดับแถวหน้าของประเทศเช่นเดียวกับการสร้างค่ายเพลงให้สำเร็จมาแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2546)
อาร์เอสในโลกออนไลน์
ในขณะที่ค่ายเพลงคู่แข่งอย่างแกรมมี่ กระโดด
เข้าสู่สนาม e-business อย่างเต็มตัว แต่ค่ายเพลงอย่างอาร์เอสกลับไม่รีบร้อน
แม้ว่าการมาของเทคโนโลยีใหม่ๆ จะเปิดทางให้กับค่ายเพลงที่มีเนื้อหาอยู่ในมือ
ก้าวเข้าสู่โลกใบใหม่ของการทำธุรกิจ ที่ไม่จำกัดอยู่แค่สื่อวิทยุ หรือโทรทัศน์เพียงอย่างเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2545)