กสิกรไทยกับสาวงาม และ e-service
ด้วยเหตุผลที่ธุรกิจของธนาคารเป็นเรื่องห่างไกล ยากที่ผู้บริโภคจะเข้าถึงได้ง่าย ๆ ไม่เหมือนกับ consumer product อื่น ๆ ยิ่งเมื่อบวกกับคอนเซ็ปต์บริการใหม่ ที่แบงก์กสิกรไทยจะชูธงรบอย่างหนักในปีนี้ ที่ล้วนแต่เป็นเรื่องที่เอาไอทีมาประยุกต์ใช้ด้วยแล้ว ก็ยิ่งจะเป็นเรื่องยากที่ผู้บริโภคจะเข้าใจได้ง่าย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2543)
บรรณวิทย์ บุญญรัตน์ การเริ่มต้นของรีเทลแบงกิ้ง
แม้ว่าบรรณวิทย์จะจากโลกนี้ไปแล้ว พร้อมๆ กับการปิดฉากตำนานความยิ่งใหญ่ของสยามมีเดีย แอนด์ คอมมิวนิเคชั่น แต่ผลงานของเอทีเอ็มที่เขาเป็นผู้บุกเบิกขึ้นมา ก็ยังทรงพลังของตัวเองและจะทวีความสำคัญยิ่งขึ้น เพราะมันคือยุทธศาสตร์ที่สำคัญของการที่แบงก์ก้าวไปสู่รีเทลแบงกิ้ง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
เว็บแบงกิ้ง ธนาคาร 24 ชม. ไทยพาณิชย์
วันที่ 23 พฤศจิกายนที่ผ่านมา ธนาคารไทยพาณิชย์ตัดสินใจเปิดตัวบริการใหม่ซึ่งนับ
ว่าเป็นครั้งแรกที่ธนาคารไทยพาณิชย์จะก้าวไปสู่การเป็นเว็บแบงกิ้ง (web banking) อย่างเต็มตัว
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2542)
E-commerce เรื่องของ new comer
บริการรับชำระเงินผ่านบัตรเครดิตสำหรับธุรกิจที่ซื้อขายสินค้าทางอินเตอร์เนต
หรือบริการ SCB Internet Payment Systems หรือ SIPS
เป็นบริการที่สามารถสะท้อนถึงการเติบโต และความเป็นไปของธุรกิจ
e-commerce ได้ในอีกแง่มุมหนึ่ง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2542)
Web banking ความฟุ้งซ่านใหม่ของสังคมไทย
ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเทคโนโลยีของคนที่มีปัญญาจะซื้อมาได้โดยง่าย
มักจะมองมันเป็น "พระเจ้า" เสมอ เช่นเดียวกับเรื่องราวความพยายามของ
ธนาคารบางแห่งที่หวังจะใช้เทคโนโลยีมาจัด "ข้อจำกัด" ของตนเอง ในเรื่อง
ต่าง ๆ ที่กำลังคุกคามอนาคตธนาคารไทยอยู่ในขณะนี้
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2542)
"อินเตอร์เน็ต แบงกิ้ง" ขุมทองใหม่ของลอจิก
รับประกันได้ว่า ธุรกิจธนาคารกับอินเตอร์เน็ต จะแนบแน่นกันจนกลายเป็น RETAIL
BANKING ที่ไม่มีใครปฏิเสธได้ มีการสำรวจกันมาแล้วว่า ผู้ใช้ที่มีศักยภาพในการทำธุรกิจบนอินเตอร์เน็ตมีอยู่ประมาณ
10 ล้านคนนี่จึงเป็นตลาดใหญ่ที่ต้องเอาใจใส่มากๆ ทีเดียว ในยุคที่ธนาคารจำต้องวิ่งไปหาลูกค้า
จากยุคการใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ทำการประมวลผลที่ศูนย์กลาง สู่ระบบไคลเอนต์/เซิร์ฟเวอร์
ในช่วงระยะเวลาสองปีนี้ ธนาคารไทยกำลังอาศัยเครือข่ายอินเตอร์เน็ต เพื่อลดต้นทุน
ในขณะที่บริการลูกค้าได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2540)
"แบงก์เทศไปไกลถึง Electronics Banking แล้ว"
เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่า แบงก์ต่างประเทศมีความล้ำหน้าทางเทคโนโลยีกว่าแบงก์ไทยหลายเท่าตัว
ซึ่งแต่ละแบงก์ อาทิ ซิตี้แบงก์ ฮ่องกงหรือแม้แต่สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดแบงก์ก็ได้วางสถานะของตนเองเป็นธนาคารที่ให้บริการด้วยระบบอิเล็กทรอนิกส์เป็นเวลานานมาแล้ว
ในขณะที่แบงก์ไทยเพิ่งเริ่มต้นมาพัฒนาด้านนี้อย่างจริงจัง แบงก์ต่างประเทศได้ไปไกลถึงขั้นพัฒนาเทคโนโลยีของตนเองขึ้นมาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อให้บริการแก่ลูกค้าเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2540)
Online Banking : เรายกธนาคารมาไว้ที่บ้าน
สำหรับคนทั่วไปที่ไม่ใช่นักธุรกิจเงินล้าน นายธนาคารเงินแสน การทำกิจกรรมการเงิน ไม่ว่าจะไปเข้าธนาคารฝากเงิน ถอนเงิน โอนเงินข้ามสาขา ล้วนเป็นเรื่องน่าปวดเศียรเวียนเกล้าอย่างที่สุด เพราะนอกจากจะขี้เกียจออกจากบ้านไปเจอรถติด ยังต้องไปรอแถวยาวเหยียดในธนาคารที่คุยหนักหนาว่า "รีเอ็นจิเนียริ่ง" แล้ว และถ้าเทพีแห่งโชคไม่เข้าข้าง เผลอ ๆ วันนั้น อาจเจอผู้หวังดีแต่ประสงค์ร้ายฉกเอากระเป๋าเงินไปเสียอีก
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2539)
ยกเอทีเอ็มไปไว้ที่บ้าน สูตรผสมลงตัวของไทยพาณิชย์กับคอมไลน์
เชื่อหรือไม่ว่า เครื่องเอทีเอ็มของธนาคารที่ให้บริการอยู่ทุกวันนี้ กำลังจะถูกยกไปให้บริการถึงบ้าน!! แต่ไม่ใช่ตู้เอทีเอ็มขนาดใหญ่ ที่เห็นคุ้นหน้าคุ้นตาอยู่ตามหน้าธนาคารต่างๆ
หรือห้างสรรพสินค้า แต่กลับเป็นเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล (พีซี) เครื่องเล็กๆ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2538)
ตู้เอทีเอ็ม หมดยุคไอบีเอ็มกินรวบ
ธนาคาร คือกลุ่มลูกค้าคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ ที่นำคอมพิวเตอร์ ไปใช้งานบริหารข้อมูลภายในองค์กรมารช้านานแล้ว
เพราะหัวใจการรบสมัยใหม่จะรู้แพ้รู้ชนะ จำเป็น ตัดสินกันด้วยฐานข้อมูลที่เร็ว
และถูกต้อง ที่จะสร้างความเป็นต่อในเชิงรุกธุรกิจ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2538)