โลกดิจิตอล แบงกิ้ง
ปัจจุบันมีผู้ใช้อินเทอร์เน็ตราว 20 ล้านคนในประเทศไทย จากตัวเลขดังกล่าวทำให้ผู้ประกอบการธุรกิจใช้ช่องทางออนไลน์เข้าไปเสริมธุรกิจ โดยเฉพาะกลุ่มธนาคารเป็นองค์กรระดับต้นๆ ที่ใช้งบมหาศาลลงทุนด้านเทคโนโลยี
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤศจิกายน 2553)
ธนาคารออนไลน์
อัตราการใช้โทรศัพท์มือถือใกล้เคียงกับประชากรในประเทศไทย ทำให้ธุรกิจออนไลน์เติบโตขึ้นอย่างมากมาย โดยเฉพาะบริการด้านบันเทิงและเกม แม้แต่สถาบันการเงินได้หันมาพัฒนาบริการการเงินบนโทรศัพท์มือถือมากขึ้น รวมไปถึงซิตี้แบงก์
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ตุลาคม 2553)
2nd Generation of Internet Banking
ภาวะวิกฤติภาคการเงินโลกที่กำลังเผชิญอยู่ในปัจจุบัน ไม่ว่าจะเป็นราคาน้ำมันและทองคำที่ขยับสูงขึ้น ผลกระทบจากปัญหา Subprime Loan ของสหรัฐอเมริกา เสถียรภาพของค่าเงินสกุลหลักหรือความผันผวนของดัชนีตลาดหลักทรัพย์ก็ดี ล้วนส่งผลกระทบต่อพฤติกรรมของนักลงทุนภายในประเทศญี่ปุ่นไม่มากก็น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2551)
ซื้อชั่วโมงอินเทอร์เน็ตผ่าน ATM
จากไลฟ์สไตล์นักท่องเน็ตรุ่นใหม่ ผู้นิยมความสะดวกรวดเร็วอย่างไร้ขีดจำกัดในการท่องไปบนโลกไซเบอร์ ช่วยให้ดีลความร่วมมือเพื่อเปิดบริการเติมเงินต่ออายุชั่วโมงอินเทอร์เน็ตของ E-GO NET ผ่านตู้ ATM ระหว่างคู่พันธมิตร ธนาคารไทยพาณิชย์ และอินเตอร์เนต โซลูชั่น แอนด์ เซอร์วิส โพรวายเดอร์ หรือ ISSP สามารถบรรลุผลได้ในแบบ win-win party
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2549)
คู่แข่งของเงินสด
เป้าหมายที่จะก้าวขึ้นเป็นตัวเลือกแรกในการชำระเงินแทนที่เงินสด ทำให้ Visa วางกลยุทธ์รุกในผลิตภัณฑ์บัตรชำระเงินเพิ่มขึ้น นอกเหนือจากตลาดบัตรเครดิตที่เริ่มอิ่มตัว
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2549)
KBANK ใช้ SMS เตือนภัยบัตรเครดิต
ปัญหาการโจรกรรมบัตรเครดิตของพวกมิจฉาชีพ ที่หลายต่อหลายครั้งไม่เพียงแต่สร้างความไม่มั่นใจในความปลอดภัยทางการเงินและข้อมูลส่วนตัวของผู้ถือบัตรเท่านั้น แต่ยังสร้างความปั่นป่วนให้แก่สถาบันการเงินที่เป็นผู้ออกบัตร จนเป็นเหตุให้ต้องวางระบบการรักษาความปลอดภัยที่เข้มงวดมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2549)
ATM Banking in JAPAN
พลวัตของรูปแบบบริการของธนาคารพาณิชย์ญี่ปุ่น มีการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องอยู่ตลอดเวลา เฉกเช่นเดียวกับการบริการของธุรกิจประเภทอื่นๆ ในญี่ปุ่นที่ให้ความสำคัญกับ Customer Oriented Service เป็นหัวใจหลัก กลยุทธ์การบริการในแบบ conventional service ที่เพียบพร้อมรอให้บริการที่ดีเลิศในอาคารสถานที่สวยหรูจึงไม่ขลังพอที่จะใช้สะกดลูกค้าในภาวะเศรษฐกิจในปัจจุบันได้
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2549)
อินเทอร์เน็ตแบงกิ้งกับความปลอดภัย
การเพิ่มขึ้นของเครือข่ายซึ่งกลายเป็นมากกว่า ความยืดหยุ่น และระบบการปฏิบัติการที่เป็นมากกว่าความมั่นคงแข็งแรง
บรรดาแฮกเกอร์หรืออาชญากรบนไซเบอร์ (cybercriminals) ต่างให้ความสนใจ ด้วยการพุ่งเป้าเข้าสู่ระบบการเก็บความลับภายในธนาคารผ่าน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2545)
Asia CyberBanking จากทันสมัยสู่ความเป็นจริง
จากธนาคารขนาดเล็กที่ดำเนินธุรกิจ ด้วยมืออาชีพค่อนข้างระมัดระวัง ด้วยความช้าในการปรับตัวก่อนวิกฤติ
ส่งผลดีในการใช้ระบบและความคิดธนาคารยุคใหม่มาใช้ จนกลายเป็นธนาคารก้าวหน้าอย่างมากด้วยการนำเทคโนโลยีในช่วงหลังวิกฤติ
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2545)
CGA-TFB-Visa Card เครือข่ายผู้คนที่มากด้วยเครดิต
ท่ามกลางความพยายามของสถาบันการเงิน
ที่จะขยายฐานลูกค้าบัตรเครดิตให้กว้างขวางออกไป ด้วยการคิดค้น feature และ
หยิบยื่นสิทธิประโยชน์ใหม่ๆ ให้กับลูกค้า
นี่อาจจะเป็นกรณีที่สะท้อนเรื่องราวของ
ธุรกิจบัตรเครดิตได้อย่างรอบด้านชัดเจน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2545)