อิทธิพลของข้อมูล
สามารถคอร์ปอเรชั่น ยังคงเป็นอีกธุรกิจหนึ่งที่ต้องเผชิญหน้ากับการเปลี่ยนแปลงองค์กรอยู่ตลอดเวลา
และครั้งนี้ก็เช่นกัน
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2545)
โลกใบใหม่ของสามารถ
กลุ่มสามารถตัดสินใจทิ้งธุรกิจโทรศัพท์มือถือ และเคลื่อนย้ายองค์กรเข้าสู่การเป็นองค์กรอินเตอร์เน็ต นับได้ว่าเป็นความกล้าหาญของตระกูลวิไลลักษณ์ และของผู้บริหารกลุ่มสามารถที่มากกว่าครั้งใดๆ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2543)
ชินคอร์ปผนวกกิจการดีพีซี จุดกำเนิดของ duo band
ในอีกไม่ถึงเดือน การผนวกกิจการระหว่างชินคอร์ปและดีพีซี จะเกิดขึ้น เพราะนี่คือความลงตัวของการประสานประโยชน์ระหว่างโอเปอเรเตอร์มือถือ ที่จะอยู่รอดท่ามกลางกระแสความเชี่ยวกรากของการแข่งขันในโลกปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2543)
ปีแห่งการประนอมหนี้
พิษฟองสบู่แตกในปี 2540 ส่งผลให้พยัคฆ์ติดปีกอย่างทุนสื่อสารทีเอ ยูคอม และสามารถ
ต้องกลายเป็นเสือลำบากจากหนี้สินที่พอกพูนขึ้น งานนี้จึงต้องขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของการประนอมหนี้
ใครสามารถพลิกฟื้นได้เร็วกว่ากัน
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
สามารถคอร์ปอเรชั่น ปักหลักที่กัมพูชา
"สามารถคอร์ปอเรชั่น" ประกาศเปิดให้บริการ Pre-Paid Card รับปี 2000 หลังฟาดฟันมาเฟียเขมร เจ้าของ "โมบิเทล" ผู้ให้บริการมือถือรายใหญ่นานข้ามปี
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
สามารถกรุ๊ปเกิดใหม่
สามารถคอร์ปอเรชั่น เป็นบริษัท สื่อสารโทรคมนาคมอีกรายที่ประสบปัญหากับวิกฤติเศรษฐกิจ
ค่าเงินบาทลอยตัว อันเป็นผลมาจากโครงสร้างธุรกิจสื่อสารของเมืองไทย ที่ไม่มีเทคโนโลยีของตัวเองต้องซื้อจากต่าง
ประเทศมาใช้งาน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2542)
"สามารถ" พลิกตำนานธุรกิจขอแค่อยู่รอดก็พอ
เราขอแค่ปี ค.ศ.2001 ยังมีชื่อของ สามารถ อยู่แค่นั้นก็พอ เราจะโฟกัสธุรกิจอะไรก็ได้ที่ทำเงิน
แม้ว่าธุรกิจเหล่านั้นจะไม่เซ็กซี่ก็ตาม สำหรับธุรกิจไหนที่ไม่ทำเงินเราก็พร้อมจะตัดทิ้ง"
คำกล่าวของจุลภาส เครือโสภณ ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการใหญ่ บริษัทสามารถคอร์ปอเรชั่น
จำกัด ที่สะท้อนถึงเป้าหมายและทิศทางในวันข้างหน้าของบริษัทโทรคมนาคมแห่งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2541)
"อิเล็กทรอนิกส์ คอมเมิร์ช"แก้วสารพัดนึกของชาญชัย
การอภิปรายเรื่องอิเล็กทรอนิกส์คอมเมิร์ชของ ชาญชัย จารุวัสตร์ ปลุกเร้าตลาดขึ้นทุกขณะ เพราะเข้าใจนำภาพร่างในยุคดิจิตอลมาเสริมความโดดเด่นให้แก่ธุรกิจบริการของกลุ่มสามารถ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
ศิริชัย รัศมีจันทร์ เราพยายามที่จะไม่เพิ่มทุน
ในฐานะมือฉมังทางด้านการเงินของกลุ่มบริษัท สามารถคอร์ปอเรชั่น จำกัด(มหาชน) ที่มีการขยายการลงทุนอย่างไม่หยุดยั้ง ศิริชัย รัศมีจันทร์ รองกรรมการผู้จัดการใหญ่ ยังยืนยันอย่างไม่ค่อยหนักแน่นว่า แม้บริษัทจะมีการขยายการลงทุนอย่างต่อเนื่อง แต่ก็จะรักษาสัดส่วนหนี้สินต่อทุน (D/E RATIO) ของ SAMART ไว้ให้อยู่ในระดับไม่เกิน 1:2.5 เท่า และพยายามที่จะไม่เพิ่มทุน
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2539)