Cyber University บทใหม่ของ ม.รังสิต
แม้ว่าระบบ e-learning จะไม่ใช่เรื่องแปลกใหม่สำหรับแวดวงการศึกษาไทย แต่สำหรับมหาวิทยาลัยรังสิต เทคโนโลยีสารสนเทศดังกล่าวกำลังเป็นประหนึ่งเครื่องมือสำคัญในการพัฒนาสถานศึกษาแห่งนี้ให้ก้าวหน้าไปอีกขั้น
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มิถุนายน 2552)
ปริญญาออนไลน์
จะอยู่ที่บ้าน ต้องเดินทางไปต่างประเทศ ไม่ห่วงว่าจะเป็นช่วงเวลาใด กลางวัน หรือกลางคืน วันนี้คุณก็เรียนหนังสือ และได้ใบปริญญาเหมือนกับไปนั่งเรียนในห้อง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2549)
หลักสูตรใหม่ของ Shin Broadband
ยิงดาวเทียมไม่พอ แต่ต้องสร้างให้เกิดมูลค่า ด้วยเหตุนี้เองที่ทำให้ Shin Broadband จึงต้องขยายบทบาทเป็น Strategic business เปิดหลักสูตร e-learning ภาษาจีนและบริหารจัดการผ่านดาวเทียม
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2547)
โรงเรียนบ้านสันกำแพง หน่ออ่อน constructionism
โรงเรียนในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติ (สปช.) แห่งนี้
มิได้มีความน่าสนใจเพียงเพราะเคยเป็นโรงเรียนเก่าของนายกรัฐมนตรีคนปัจจุบัน
หากแต่เนื่องเพราะรูปแบบการเรียนการสอนแบบใหม่ของที่นี่ กำลังปรากฏขึ้นเป็นหน่ออ่อนบนฐานรากเดิมของระบบที่กำลังจะถูกปฏิรูป
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2545)
ดรุณสิกขาลัย โรงเรียนเพื่อการเรียนรู้
การปรากฏตัวขึ้นของ ดรุณสิกขาลัย ในฐานะโครงการนำร่องโรงเรียนเพื่อการเรียนรู้
ในห้วงเวลาที่สถาบันการศึกษาแต่ละแห่งกำลังอยู่ระหว่างการกำหนดทิศทางและรูปธรรม
ที่ชัดเจนท่ามกลางกระแสการปฏิรูปการศึกษา มิได้มีนัยเป็นเพียงทางเลือกใหม่สำหรับผู้ปกครองเท่านั้น
หากแต่ยังมีส่วนบ่งบอกแนวโน้มการศึกษาไทยในอนาคตอีกด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2544)
จุดหัวเลี้ยวหัวต่อของเซนต์จอห์นกรุ๊ป
สมัย ชินะภา ผู้ก่อตั้งและเจ้าของโรงเรียน เซนต์จอห์นหรือตำแหน่ง ที่เรียกขานเป็นทางการว่าผู้ประสาทการบอกกับ
"ผู้จัดการ"ว่าเขาแทบจะร้องไห้มาไม่น้อยกว่า 3 ครั้งในการสร้างสถาบันแห่งนี้ขึ้นมาจนอายุครบ
30 ปีในเดือนเมษายน 2533 นี้
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2533)