การศึกษาไทยและความเป็นนานาชาติ 2
สืบเนื่องจากฉบับก่อนที่ผมเล่าถึงปัญหาของโรงเรียนไทยในการหาบุคลากรต่างชาติมาสอน เดือนนี้ผมจะพูดถึงโปรแกรม EP และโรงเรียนนานาชาติในไทยที่ได้รับความนิยมมากในช่วงสิบกว่าปีที่ผ่านมาทำให้ผุดขึ้นมาเหมือนดอกเห็ด
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2555)
เดอะรีเจนท์ ส่วนผสมของ “กู๊ดเฮด” และ “กู๊ดฮาร์ท”
“หน้าที่เราไม่ใช่แค่เตรียมนักเรียนไปมหาวิทยาลัย ซึ่งใครๆ ก็ทำได้ แต่เราต้องมีหน้าที่เตรียมเขาให้เป็นผู้นำที่มีทั้ง Good Head และ Good Heart” นั่นคือประเด็นสำคัญที่สุดที่ ดร.วีระชัย เตชะวิจิตร์ ผู้ก่อตั้ง และประธานกรรมการโรงเรียนนานาชาติ “เดอะรีเจนท์” ย้ำกับผู้จัดการ 360 ํ ตลอดการพูดคุยเกือบ 3 ชั่วโมง
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา มกราคม 2555)
St.Stephen's โรงเรียนนานาชาติกลางขุนเขา
หัวอกพ่อแม่ชาวกรุงเทพฯ ที่อยากย้ายไปอยู่เขาใหญ่ การเรียนของลูกอาจเป็นอุปสรรคสำคัญที่ทำให้ต้องพับแผนเก็บใส่ลิ้นชักรอจนกว่าลูกจะโต หรือไม่ก็ต้องยอมห่างจากลูกอันเป็นที่รัก
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2549)
Bromsgrove School
โรงเรียนนานาชาติแห่งใหม่ พัฒนาความคิดที่ซับซ้อนมากขึ้น หรืออีกนัยหนึ่งศึกษาบทเรียนของผู้มาก่อนมากขึ้น เป็นตัวอย่างของโรงเรียนนานาชาติที่เกิดขึ้นอย่างมหัศจรรย์ในสังคมไทยในช่วงปลายของความเฟื่องฟู
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2548)
Dulwich International College Phuket (DIC)
Dulwich International College Phuket (DIC) 1996 ก่อตั้งโดยร่วมกับ Dulwich College (ก่อตั้ง 1619) สถานศึกษาที่มีชื่อเสียงและเกียรติประวัตินานกว่า 380 ปี ในประเทศอังกฤษ ภายใต้การบริหารงานของ "กลุ่มประสิทธิ์พัฒนา" ที่มี ดร.อาทิตย์ อุไรรัตน์ เป็นประธานคณะกรรมการบริหาร โดยดำเนินไปในลักษณะแฟรนไชส์
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2548)
Dulwich
เรื่องราวของ Dulwich International School (DIC) ที่ภูเก็ต ประเทศไทย มีบทเรียนที่น่าสนใจหลายมิติ ที่สำคัญมากมิติหนึ่ง ว่าด้วยความหมายของธุรกิจการศึกษา
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2548)
โรงเรียนนานาชาติ (3)
โรงเรียนนานาชาติในบ้านเรามีการปรับตัวครั้งใหญ่เช่นเดียวกันมาตั้งแต่สมัยรัฐบาลอานันท์ ปันยารชุน โดยเมื่อประมาณ 10 ปีที่แล้ว ด้วยนโยบายเปิดเสรีทำให้เกิดการลงทุนด้านธุรกิจโรงเรียนนานาชาติในบ้านเราอย่างมากทีเดียว
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2548)
International School (2)
คงไม่มีประเทศใดในโลกที่โรงเรียนนานาชาติเติบโตอย่างมากมายเท่าประเทศไทย ในช่วงเวลาประมาณ 12 ปี เกิดโรงเรียน ประเภทนี้มากกว่า 70 แห่ง ทั้งนี้ก่อนหน้านั้นในช่วง 40 ปี ของการเกิดขึ้นของโรงเรียนนานาชาติ มีในประเทศไทยประมาณ 10 แห่งเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2548)
โรงเรียนนานาชาติ (1)
ระบบการศึกษาของไทยในระดับพื้นฐานมีการเปลี่ยนแปลงอย่างมากมาย ที่มิใช่มาจากความพยายามปรับตัวทางเทคนิคของกระทรวงศึกษาธิการของไทยแต่อย่างใดไม่ หากเป็นผลพวงมาจาก "ความล้มเหลว" ของระบบการศึกษาที่มีดัชนีบ่งชี้หนักแน่นอย่างไม่เคยมีมาก่อนมากขึ้น ๆ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2548)
St.Andrew ขยายตัวด้วย multi-campus
ขณะที่โรงเรียนนานาชาติแห่งอื่นๆ กำลังหยิบยกประวัติศาสตร์เก่าแก่ และชื่อเสียงในอดีตมาเป็นจุดขายหลัก แต่สำหรับ St. Andrews แล้วกลยุทธ์ในการเติบโตกลับอยู่ที่การขยายสาขาของโรงเรียนเข้าสู่กลุ่มเป้าหมาย ซึ่งดูเหมือนจะประสบผลสำเร็จไม่น้อย
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2546)