ภัทราเซรามิคความเจ็บปวดของภัทรประสิทธิ์
"ภัทรประสิทธิ์" เป็นตระกูลใหญ่ รากฐานมาจากการค้าเหล้า และกิจการสัมปทานของรัฐ พวกเขาชำนาญในธุรกิจกึ่งผูกขาด และเป็น "ผู้อยู่เบื้องหลัง" ในบริษัทต่าง ๆ มากกว่าจะบริหารด้วยตนเอง "ภัทราเซรามิค" เป็นตัวอย่างที่ดีของความล้มเหลว เมื่อพวกเขาต้องเผชิญกับการแข่งขัน และความผันผวนของตลาดโลก ภัทราเซรามิค ก็กลายเป็นประวัติศาสตร์อีกหน้าหนึ่งที่เจ็บปวดของ "ภัทรประสิทธิ์"
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2539)
สงครามเซรามิกร้อนระอุ กดดันปูนใหญ่ ออกนอกประเทศ
แนวทางการรุกสร้างฐานการผลิตในต่างประเทศของเครือซิเมนต์ไทย หรือปูนใหญ่ เด่นชัดมากขึ้น ในยุคของชุมพล ณ ลำลียง ซึ่งอาจเพระถือเป็นนโยบายหลักประการหนึ่งของเครือข่ายแห่งนี้ในยุคโลกไร้พรมแดน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2538)
"ปูนใหญ่ลงทุนในฟิลิปปินส์เกมรับในเกมรุก"
มาริซาวา แมนูแฟคเจอริ่ง อิงค์ เป็นยักษ์ใหญ่ในอุตสาหกรรมเซรามิกของฟิลิปปินส์
ปัจจุบันมีกำลังการผลิตปีละ 3 ล้านตารางเมตร และมีส่วนแบ่งตลาดในฟิลิปปินส์ถึง
50% ทั้งยังเป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์มะนิลาด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2536)
"กิจการเซรามิกของภัทรประสิทธิ์"
ครอบครัวภัทรประสิทธิ์ร่ำรวยอย่างเงียบเชียบในกิจการสุราที่ร่วมทุนกับ เจริญ
สิริวัฒนภักดี ว่ากันว่าตระกูลนี้เป็นผู้ที่มีเงินสด (cash rich) เป็นกอบเป็นกำมากที่สุดกลุ่มหนึ่ง
เพราะกิจการของครอบครัวนี้มีอยู่ 4 ธุรกิจหลักคือกิจการค้าปลีก เดอะมอลล์,
อุตสาหกรรม-สุรา, เซรามิก และพอร์ชเลน, กิจการด้านการเงิน-บงล.เจ้าพระยา
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2536)
เสถียรภาพล้มได้ แต่ "จุลไพบูลย์" จะไม่มีวันล้มได้?
เมื่อปี 2497 อุบล จุลไพบูลย์กับพงษ์เทพ-สามี ได้ร่วมหุ้นกับญาติและเพื่อน ๆ หลายคนสร้าง โรงงานเครื่องปั้นดินเผาขึ้นในนามบริษัทพอสเลนไทย จำกัด ลงเงินและลงมือสร้างโรงงานไปแล้ว แต่ ยังไม่ทันได้ลงมือผลิตก็มีอันให้ต้องล้มละลายไปเสียก่อนว่ากันว่าญาติและเพื่อน ๆ ที่เป็นหุ้นส่วนหมดเงินหมดทองไปพอสมควร
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2531)
ความพึงพอใจกับอดีต
คงจะมีคนไทยจำนวนไม่น้อยที่นิยมสะสมของเก่า
แต่จะมีสักกี่มากคนที่ของเก่าที่สะสมนั้น เป็นเครื่องปั้นดินเผาหรือที่เรียกกันในหมู่ผู้มีรสนิยมสะสมของเก่าประภทนี้ว่า
"เล่นเซรามิค"
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2530)