เซรามิกทรุด เพราะพิษเศรษฐกิจ
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย ระบุวิกฤติการณ์ทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการล้มละลายของสถาบันการเงินในตลาดสินเชื่อที่อยู่อาศัยและวาณิชธนกิจขนาดใหญ่ในสหรัฐฯ ในเดือนกันยายน 2551 ที่ผ่านมา มีสาเหตุหลักมาจากปัญหาซับไพร์มที่เป็นปัญหาเรื้อรังมายาวนาน
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2551)
"สุรพงศ์" ผู้กุมบังเหียนธุรกิจสุดรักของ “ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์”
ช่วงรอยต่อก่อนหน้าที่ประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ จะเข้ามาร่วมวงการเมืองอีกครั้งเหมือนครั้งนี้และเป็นข่าวตามหน้าหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์อยู่แทบทุกวัน ประดิษฐ์กลับเข้ามาคลุกคลีในธุรกิจเซรามิกของเขาในฐานะกรรมการผู้จัดการใหญ่อยู่นานร่วมๆ ปี ก่อนผลักภาระให้สุรพงศ์ สุพรรณพงศ์ ที่ผ่านการสรรหามาจากเฮดฮันเตอร์ เข้ามานั่งเป็นกรรมการผู้จัดการใหญ่และดูแลธุรกิจที่เขารักแทนในท้ายที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2550)
Rene Ozorio ดีไซเนอร์ tableware ของภัทรา พอร์ซเลน
ว่ากันว่า เมื่อประดิษฐ์เข้าไปในโชว์รูมแสดงสินค้าของภัทรา พอร์ซเลน เขาใช้เวลาในการเดินพิจารณาทุกชิ้นเซรามิกพอร์ซเลนที่มีอยู่ไม่ต่างอะไรกับการยืนมองงานศิลปะสักชิ้นที่วางอยู่ในนิทรรศการงานศิลปะ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2550)
กว่าจะมาเป็นถ้วยชามเซรามิก คุณคิดว่าง่าย?
"หน้าตาอาหารจะดี ต้องอยู่ในจานที่ดีและเหมาะกับตัว" สุรพงศ์เอ่ยขึ้นตอนหนึ่งหลังจากบทสนทนาชักพามาถึงเรื่องราวของความยากลำบากในการทำธุรกิจเซรามิกที่มีขั้นตอนและกระบวนหลากหลายและชวนให้ปวดหัว
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2550)
ภัทรา : ถึงเวลาลืมตาอ้าปาก
เป็นเวลากว่า 15 ปีแล้ว ที่ภัทรา พอร์ซเลนอยู่รอดมาได้ในธุรกิจเซรามิก ยุคที่จีน อินโดนีเซีย เวียดนาม และเพื่อนร่วมธุรกิจในไทยด้วยกันเองเป็นคู่แข่ง 2 ปี มานี้ถือเป็นยุคเปลี่ยนผ่านของบริษัท จากธุรกิจที่อยู่ได้ด้วยการอุ้มของประดิษฐ์ ภัทรประสิทธิ์ มาอยู่ในความดูแลของผู้บริหารมืออาชีพที่มองถึงการลืมตาอ้าปาก อยู่รอด และทำกำไร
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2550)
The Inspiration By Cotto Tiles Library
ลานกว้างชั้น 1 ของเซ็นทรัล เฟสติวัล ภูเก็ต ในค่ำวันนั้นสดใสไปด้วยสีชมพูสดของการจัดงานเปิดตัว "ห้องสมุดกระเบื้องคอตโต้" (Cotto Tiles Library)
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2548)
Art@Difference Space
เป็นกิจกรรมเล็กๆ ที่มีคุณค่าท่ามกลางการเติบโตจากจินตนาการที่ไร้ขีดจำกัดของบ้านเมือง ซึ่งบริษัทเซรามิค อุตสาหกรรมไทย ผู้ผลิตกระเบื้องคอตโต้ ได้จัดทำโครงการประกวดการออกแบบ "Difference Design Awards" ขึ้นมาอย่างต่อเนื่องเป็นปีที่ 5 เพื่อสนับสนุนให้นักศึกษาและประชาชนทั่วไปได้ใช้ความคิดในการสร้างสรรค์ผลงานเกี่ยวกับเรื่องของสาธารณสมบัติ สถาปัตยกรรมอาคาร งานตกแต่ง งานออกแบบผลิตภัณฑ์ หรือสิ่งปลูกสร้างอื่นๆ เน้นความแปลกใหม่และแตกต่างไม่เหมือนใคร โดยหัวข้อแต่ละปีจะแตกต่างกัน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2548)
ผู้ร่วมสร้าง Brand Cotto
ทีมนักออกแบบหนุ่มสาวทั้ง 7 คน ของ Cotto Studio ถูกหล่อหลอมตัวตนอย่างหนักเพื่อสร้างศักยภาพในการออกแบบแข่งขันกับตลาดโลก แต่ละคนมีดีกรีทางด้านการศึกษาเป็นต้นทุน และยังต่อยอดในการเปิดโลกทัศน์ด้วยการเดินทางไปดูงานแฟร์ และสถานที่สำคัญต่าง ๆ ทั่วโลก พร้อม ๆ กับทำเวิร์กชอปกับผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศ
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2548)
ตำนานจากโลกตะวันออก "Cotto Studio"
ศาสตร์และศิลป์จากซีกโลกตะวันออกกำลังถูกขับเคลื่อนผ่านกระบวนการจัดการ จาก "Cotto Studio" กลายเป็นกระเบื้องลายใหม่
ที่กำลังสร้างอิทธิพลต่อวงการออกแบบของโลกตะวันตก
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2548)
สืบสานลายไทยที่อัมพวา
บ้าน "ปิ่นสุวรรณ เบญจรงค์" ในพื้นที่กว้างขวางถึง 8 ไร่นั้น เปิดประตูโล่งไว้ทั้งวัน
เพื่อความสะดวกแก่ลูกค้าที่เข้ามาติดต่อ เมื่อมองเข้าไปด้านขวามือจะเห็นบ้านเรือนไทยหลังใหญ่
ซึ่งวิรัตน์ ปิ่นสุวรรณ เตรียมจัดให้เป็นพิพิธภัณฑ์เครื่องเบญจรงค์ไทย
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2546)