IMAX ในเมืองไทยแห่งที่ 2 ในเอเชีย
วิชัย พูลวรลักษณ์ ตัดสินใจสร้าง โรงภาพยนตร์ IMAX ขึ้นมาในเมืองไทย ถึงแม้ที่ผ่านมายังไม่ประสบความสำเร็จนัก
แต่เขาเชื่อว่าอิทธิพลของหนัง วอลท์ ดิสนีย์ ที่กำลังฉายเป็นเรื่องแรก จะทำให้คนไทยรู้จักมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2543)
โกดัก ฟูจิ..!ห่ำหันตลาด ฟิล์มหนัง (ไทย)
"ธุรกิจฟิล์มหนังในเมืองไทยเป็นธุรกิจที่ถือว่าเล็กมาก เมื่อเทียบกับตลาดฟิล์มในต่างประเทศ
นั่นเพราะตลาดที่ผูกติดอยู่กับอุตสาหกรรม การสร้างหนังไทย ยังเป็นทารกโดยไม่รู้จักโตเสียที
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2536)
"นิยามใหม่ของหนังสารคดี"
พูดถึงหนังสารคดีแล้วคนส่วนใหญ่คงปักใจเชื่อว่าภาพปรากฎบนจอทีวีหรือจอภาพยนตร์
รวมถึงเสียงพูดต้องมาจากความเป็นจริง มิได้อิงการเสริมแต่งเติมเพิ่มรสชาติตามแบบอย่างของคนทำหนังบันเทิง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2535)
"หนังเปิดโปงสังคมไทย"
เบื้องหลังภาพยนต์ 3 เรื่องสะท้อนปัญหาสังคมไทย THAILAND FOR SALE สำเริง
BOUGHT HAPPNESS สำเร็จสมบูรณ์ขึ้นได้ด้วยจิตสำนักบวกมันสมองคนไทย แต่อยู่ภายใต้ชื่ออำนวยการผลิตและเงินทุนต่างประเทศ
ออกฉายในหลายประเทศเกือบครึ่งค่อนโลกที่ประเทศเจ้าของปัญหาประเทศไทยจะมีโอกาสชม
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
"ภาพพจน์กับความจริง"
จากบทเรียนในอดีตที่ผ่านมาพอจะชี้ให้เห็นว่าภาพยนตร์สะท้องปัญหาสังคมไทยมักจะถูกตีตราว่า
"ทำลายภาพพจน์ประเทศชาติ" เสมอ
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
หนังตัวอย่างออกเพ่นพ่านนอกโรงหนังได้แล้ว
ดูเหมือนห้างขายสินค้าอิเล็กทรอนิกส์กับโชว์รูมที่เต็มไปด้วยจอทีวีจะกลายเป็นของคู่กัน และบนจอทีวีหรืออะไรก็แล้วแต่ แต่มันกลายเป็นช่องทางและจุดประกายความคิดการทำธุรกิจแนวใหม่ให้ "อดัม ฟิลด์" และกลายเป็นกลยุทธ์การตลาดแบบใหม่สำหรับสตูดิโอสร้างภาพยนตร์ด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)
เอ็มซีเอ ในเงื้อมมือมัตซูชิตะ
สิ้นปี ของ ทศวรรษ1990 เจ้าของวงการคอนซูเมอร์อิเล็ทรอนิกส์ แห่งญี่ปุ่น
" มัตซูชิตะ" สร้างประวัติศาสตร์ซื้อกิจการจะกระหึ่มทั่วโลกอีกครั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2534)
"เมื่อ CVD เจอบูมเมอแรงกฎหมายเซนเซอร์"
ปลายปี 2530 กฎหมายเซนเซอร์เทปและวัสดุโทรทัศน์ ได้ถูกประกาศใใช้ขึ้นโดยมีเหตผลคือเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายทางด้านศีลธรรมและความมั่นคงแห่งชาติ โดยหลักการเป็นเรื่องที่น่าชื่นชม แต่เรื่องของเรื่องมันเป็นปัญหาที่ว่ากฎกระทรวงมหาดไทยที่เจ้าหน้าที่ตำรวจมีหน้าที่ในการปราบปราม ผู้ละเมิดและหลีกเลี่ยงกฎหมายนั้นได้ใช้ช่องโหว่ของกฎหมายนี่เป็นเครื่องมือหากิน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2532)