GMM Grammy : The Idol Maker
จีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เป็นองค์กรธุรกิจหนึ่งของไทย ที่สามารถสร้าง "นักร้อง"
และ "ดารา" ที่สามารถสะท้อนไลฟ์สไตล์ และกระแสสังคมได้มากที่สุด ด้วยกระบวนการจัดการที่รัดกุม
ทำให้มีนักร้องในสังกัดมากที่สุด
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2545)
2 ปีกับเก้าอี้ CEO
ปีนี้จะเป็นปีที่อภิรักษ์ นั่งเกาอี้ "ซีอีโอ" ครบสองขวบปี
กับภารกิจของการวางระบบ back office
ซึ่งไม่ใช่การปั้นนักร้อง แต่เป็นบทบาทของผู้ที่ต้องปิดทองหลังพระ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2545)
แผงขายเทปเพลงออนไลน์
หลังจากเปิดเซ้บไซต์ "อีโอทูเดย์" เป็นสนามทดลอง อีกไม่ถึง 2 เดือน ร้านขายเพลงออนไลน์ของแกรมมี่ ก็จะเริ่มให้บริการ
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2543)
TRIA เมื่อค่ายเพลงรวมตัวต้านการละเมิดลิขสิทธิ์
ปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ที่รุนแรงมากขึ้น ทำให้ค่ายเพลงดังทั้งของไทยและต่างประเทศ 12 แห่ง ซึ่งที่ผ่านมาถือเป็นคู่แข่งกัน ได้ประกาศรวมตัวกันอย่างเป็นทางการขึ้นเป็นครั้งแรก โดยได้ร่วมกันก่อตั้ง
"สมาคมอุตสาหกรรมสิ่งบันทึกเสียงไทย" หรือ TRIA ขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2543)
eotoday.com new economy ของแกรมมี่
eotoday.com new economy ของแกรมมี่ สำหรับแกรมมี่แล้ว eotoday.com ไม่ใช่แค่การเปิดเว็บไซต์ธรรมดาๆ
แต่คือ ก้าวใหม่ที่จะทำให้บริษัทเอ็นเตอร์เทนเมนต์ ในโลกใบเก่าแห่งนี้ขับเคลื่อนเข้าสู่โลกของเศรษฐกิจยุคใหม่
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
โลกดิจิตอลของ อิทธิวัฒน์ เพียรเลิศ
เจ้าพ่อดีเจผู้ที่เคยสร้างตำนานบนหน้าปัดวิทยุ ยุคสมัยของไนท์สปอต มีเดียพลัส สยามทีวี จนมาถึงออนป้า เป็นที่ที่จะก้าวสู่โลกดิจิตอลอย่างเต็มตัว
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2543)
โลกออนไลน์ของแกรมมี่
วิสิฐ ตันติสุนทร ประธานกรรมการบริหารแกรมมี่ เอนเตอร์เทนเม้นท์สนทนากับ 'ผู้จัดการ' เพื่อตอบปัญหาว่าจะนำ content ที่มีอยู่ในมือมาสร้างมูลค่าเพิ่ม ในธุรกิจอินเตอร์เน็ตอย่างไห
(นิตยสารผู้จัดการ พฤษภาคม 2543)
สุนทราภรณ์ต้นแบบลิขสิทธิ์บันเทิง
แม้เรื่องลิขสิทธิ์จะเพิ่งตื่นตัวเมื่อไม่นานมานี้ แต่สำหรับ "สุนทราภรณ์"
เรื่องของลิขสิทธิ์กลับกลายเป็นปกติธรรมดามากว่าครึ่งศตวรรษ แตกต่างจากคนในวงการเพลงทั่วไป
และรายได้จากค่าลิขสิทธิ์นี้เอง เป็นน้ำหล่อเลี้ยให้ชื่อของ "สุนทราภรณ์"
ยั่งยืนและยังมีผลงานแพร่หลายในวงการจนทุกวันนี้
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2538)
วันวานที่ยังคงอยู่ของ "สุนทราภรณ์"
วงดนตรี "สุนทราภรณ์" ก่อตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 20 พฤศจิกายน พ.ศ.2485
โดยก่อนหน้านั้น 3 ปี เคยรวมตัวกันในชื่อวง "ไทยฟิล์ม" เพื่อบรรเลงเพลงประกอบหนังให้กับบริษัทไทยฟิล์มภาพยนตร์
มีเอื้อ สุนทรสนาน เป็นหัวหน้าวง ทำหน้าที่เป่าแซกโซโฟน มีสมาชิกในวงรวม
12 คน
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2538)