Jazz With View
สำหรับคนรักแจ๊ซ การเสาะหาแจ๊ซบาร์ดีๆ สักแห่งในกรุงเทพฯ อาจไม่ใช่เรื่องยาก แต่ถ้ากำลังมองหาแจ๊ซบาร์ชิลๆ ที่มีวิวงามๆ ของกรุงเทพฯ เป็นม่านสายตา อาจหาไม่ได้ง่ายๆ แต่ก็คงไม่ถึงกับต้องพลิกแผ่นดิน เพราะบาร์อย่างที่ว่า ผุดขึ้นมาแล้วในกรุงเทพฯ
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2549)
กินหัว กินหาง กินกลางตลอดตัว
เหมือนกับจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ เพิ่งจะนึกขึ้นมาได้ว่าที่ผ่านมาได้แต่นั่งมองผู้ประกอบการคาราโอเกะเก็บเกี่ยวรายได้และผลกำไรจากธุรกิจนี้ไปไม่น้อย ทั้งๆ ที่แกรมมี่เป็นเจ้าของสิทธิ์ในเพลงที่ลูกค้าร้องกันอยู่ทุกวัน แต่กลับมีรายได้จากส่วนแบ่งค่าลิขสิทธิ์เพียงเล็กน้อยเท่านั้น
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2549)
Ken Hirai 10th Anniversary
ท่ามกลางกระแส J-POP ที่กำลังมาแรงและขยายตลาดออกไปสู่หลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยในช่วงปี 1995 นั้น หลายต่อหลายวงเริ่มเป็นที่รู้จักในกลุ่มนักฟังเพลงในบ้านเราเป็นต้นว่า X-Japan, Spitz, Dream Comes True, Globe, Smap, Mr.Children ศิลปินกลุ่มเหล่านี้แข่งกันสร้างงานคุณภาพหมุนเวียนสับเปลี่ยนกันไต่ chart ในญี่ปุ่นกันเป็นเรื่องปกติจนกลายเป็นเรื่องยากสำหรับศิลปินหน้าใหม่ที่จะเข้ามาสร้างชื่อในวงการเพลงญี่ปุ่นได้ หากไม่มีอะไรเป็นจุดขายที่ดีพอ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2548)
Visual radio ปฏิวัติ "วิทยุ"
นอกจากจะเป็นปีที่อาร์เอสต้องประสบกับภาวะผันผวนของรายได้แล้ว ยังเป็นปีที่ค่ายเพลงอาร์เอสต้องหันมาเอาจริงเอาจังกับเรื่อง "ไอที" มาใช้เป็นเครื่องมือในการแสวงหาโอกาสใหม่ๆ เพื่อรับมือกับการเปลี่ยนแปลงของดิจิตอล
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2547)
"Content is a king"
"บางคนบอกว่าเทคโนโลยีจะฆ่าธุรกิจเรา เป็นเพราะเขาไม่เข้าใจ ยิ่งเทคโนโลยีมาก โอกาสสร้างรายได้จากทุกทางยิ่งมาก ต่อไปเราอาจไม่ต้องออกแผ่นซีดี แต่ใช้วิธีดาวน์โหลด แทน" เป็นประกาศของไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร แถลงข่าวนโยบายของแกรมมี่ ภายใต้ชื่องาน "Music never die"
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2547)
อาร์.เอส. เปิดร้าน Music store ขายเพลงดาวน์โหลดออนไลน์
ภาวะผันผวนที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ทำให้ค่ายเพลงของเมืองไทยต้องพลิกวิกฤติให้เป็นโอกาส สำหรับค่ายเพลงแล้ว "เทคโนโลยี"เป็นทั้งอุปสรรคและโอกาส ส่งผลกระทบต่อรายได้ต้องลดลงอย่างน่าใจหาย จากซอฟต์แวร์ burn CD
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2547)
Music never die By...อากู๋
จู่ๆ "อากู๋" ไพบูลย์ ดำรงชัยธรรม แห่ง GMM Grammy ตกเป็นข่าวใหญ่ติดต่อกันถึง 2 ครั้ง ด้วยกัน ครั้งแรกเป็นงานแถลงข่าว ที่ GMM Grammy จัดขึ้นเองใช้ชื่องานว่า "Music never die" งานนี้จัดขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ขนเอาศิลปินหน้าใหม่กว่า 100 ชีวิต มาเปิดตัวอย่างเต็มพิกัด ทำเอาห้องบอลรูมของศูนย์ประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เต็มไปด้วยผู้สื่อข่าวทั้งสายบันเทิงและสายธุรกิจที่มารวมกัน
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2547)
เมื่อแกรมมี่รุกตลาดเพลงในญี่ปุ่น
หลังรอคอยมา 10 ปี ก็ถึงคราวที่แกรมมี่จะสร้างโอกาสใหม่ให้กับตัวเอง ในการรุกเข้าสู่ตลาดเพลงในญี่ปุ่นที่มีมูลค่าเป็นอันดับ 2 ของโลก โอกาสที่เป็นก้าวรุกของแกรมมี่ในครั้งนี้ เริ่มต้นขึ้นเมื่อจีเอ็มเอ็ม แกรมมี่ ได้เข้าไปมีส่วนร่วมในโครงการพิเศษ Music Festival ที่สถานีโทรทัศน์ NHK ของญี่ปุ่น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2546)
ดนตรี Afro-Cuban (ตอนที่ 2)
ขอเล่าต่อ...ช่วงต้น ค.ศ.1800 ดนตรีในประเทศคิวบาแบ่งได้เป็น 2 กลุ่มอย่างชัดเจนคือ
ดนตรีในเขตเมืองใหญ่ซึ่งมีจุดศูนย์กลางอยู่ที่เมืองฮาวาน่า (Havana) เมืองหลวงของคิวบา
(เมืองหลวง ของคิวบาหลังการยึดครองของสเปน คือ เมือง Santiago de Cuba ก่อตั้งในปี
ค.ศ.1513 ต่อมาย้ายมาที่เมือง Havana ในปี ค.ศ.1607)
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2546)
ดนตรี Afro-Cuban (ตอนที่ 1)
ไหนๆ เขียนเรื่องเกี่ยวกับดนตรีมาหลายตอน ติดกัน รู้สึกติดลม ก็เลยขอต่ออีกสักชุด
เดิมทีผมกะ จะเขียนถึงการหัดเล่นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องเคาะ หรือ Percussion
ในสไตล์ดนตรี ละตินอเมริกัน มา ดูอีกทีจะเป็นการดีที่จะเริ่มจากเรื่องราวของดนตรี
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2546)