เชื่อมั่นและศรัทธา
ไม่มีใครนึกว่ากริส ทอมัส จะมานั่งบริหารงานเพลงลูกทุ่งให้กับแกรมมี่ที่แกรมมี่ โกลด์ เพราะพื้นฐานทางดนตรีความถนัดของเขาคือเพลงสตริง วงดนตรีที่เขาก่อตั้งในยุคแรกก็เล่นเพลงสตริงในชื่อวง "บาราคูดัส" เป็นวงสตริงยุคแรกของแกรมมี่ในสมัยก่อตั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
GRAMMY GOLD กริส ทอมัส พระเจ้าให้เราหรือเปล่า
ชื่อเสียงของแกรมมี่ในยุคเริ่มต้นจะผูกติดมากับการทำเพลงวัยรุ่น เพลงสตริง มากกว่าที่จะออกมาเป็นเพลงลูกทุ่ง ซึ่งถือเป็นจุดแข็งของแกรมมี่และเป็นจุดขายที่เปลี่ยนแปลงได้ยากในสายตาของคนฟังและคนซื้อ แต่การที่ถนัดทำเพลงสตริงก็ไม่ได้หมายความว่าจะทำเพลงแนวอื่นไม่ได้ เพราะโดยหลักการแล้ว การทำเพลงสิ่งที่สำคัญที่สุดก็คือ การสร้างความบันเทิงให้ผู้ฟังจนทำให้เกิดการซื้อผลงาน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
เวทีที่คับแคบของนักร้องรุ่นเก่า
ในขณะที่เพลงลูกทุ่งยุคใหม่กำลังเป็นที่สนใจ นักร้องใหม่ๆ เกิดขึ้นมาแทนนักร้องเก่ามากมาย คนฟังเพลงรุ่นเก่าบางส่วนเริ่มถามหานักร้องรุ่นเก่าว่าหายหน้าหายตาไปไหน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
FM 95 ลูกทุ่งมหานคร ไพรม์ไทม์หลังเที่ยงคืน
การเริ่มต้นของคลื่น FM 95 ลูกทุ่งมหานคร ของ บมจ.อสมท จะถูกตั้งคำถามเสมอว่า ทำไมทำสถานีลูกทุ่งเหมือนรายเดิมที่เคยทำอยู่ น่าจะมีการคิดใหม่ทำใหม่ไม่ใช่เดินตามรอยเก่าอย่างนี้
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
เปี๊ยก บ้านโป่ง ผู้จัดลูกทุ่งคนสุดท้ายแห่งซอยบุปผาสวรรค์
คนลูกทุ่งยุคเก่าอย่างเปี๊ยก บ้านโป่ง ที่ใช้ชีวิตและประกอบกิจการเพลงลูกทุ่งในซอยบุปผาสวรรค์มากว่าครึ่งชีวิต เห็นความเปลี่ยนแปลงมากมายในวงการเพลงลูกทุ่ง และทุกวันนี้เขาก็ยังเป็นคนเก่าแก่ของวงการนี้อยู่
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
วิทยา ศุภพรโอภาส ผมชอบถูกบันทึก
วิทยา ศุภพรโอภาส มีเอกลักษณ์ที่ไม่เหมือนใครในการจัดรายการวิทยุ อย่างแรกก็คือ "เสียงแหบ" จนกลายเป็นฉายาที่คนในวงการเพลงเรียกเขาว่า เสี่ยแหบ ซึ่งเขาก็ไม่ได้เดือดเนื้อร้อนใจแต่อย่างใดเพราะเป็นอย่างนั้นจริงๆ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
พลังลูกทุ่ง
เพลงลูกทุ่งที่เปิดขึ้นครั้งแรกบนหน้าปัดวิทยุ FM เมื่อวันที่ 1 สิงหาคม 10 ปีก่อน เปรียบเหมือนเสียงเพลงแห่งความหวังที่ขับขาน ก่อให้เกิดพลังในการพังทลายแนวกั้นและความเชื่อเดิมๆ ที่ว่า เพลงลูกทุ่งไม่สามารถยืนอยู่ในคลื่น FM ที่เกิดขึ้นในอดีตลงอย่างราบคาบ สร้างบริบทใหม่ให้กับเพลงลูกทุ่งที่กลายเป็นทั้งขุมทรัพย์และเครื่องมือการตลาดอันทรงพลัง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
Flash Back Concert เวทีนี้ไม่มีวัย
Music Contest เป็นเครื่องมือที่ใช้กันนิยมใช้กันมานมนานและแพร่หลาย คงไม่ใช่เรื่องน่าแปลก หากเวทีประกวดแห่งนั้นจะรับสมัครและมองหา "ดาว" ที่เป็นมือสมัครเล่นทางด้านดนตรีรุ่นเยาว์คนรุ่นใหม่ เพื่อไปพัฒนาต่อยอดทางธุรกิจทางตรงและทางอ้อม
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2550)
True Music: Powerful Music Content
เมื่อสไตล์การฟังเพลงเปลี่ยนจากหน้าปัดวิทยุเคลื่อนพรมแดนสู่สถานีออนไลน์ มีหรือที่ทรูฯ ในฐานะเจ้าของอินเทอร์เน็ตบรอดแบนด์รายใหญ่ของประเทศจะยอมเพิกเฉยต่อโอกาสที่มาถึงครั้งนี้
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2550)
All that JAZZ...
หากความพิเศษของการแสดงดนตรี Jazz อยู่ที่การเป็นรูปแบบดนตรีที่เน้นการด้น (improvisation) จากแรงบันดาลใจ เพื่อแสดงออกถึงอารมณ์ความรู้สึก (expression) ในฐานะที่เป็น once in the life time moment
(นิตยสารผู้จัดการ พฤศจิกายน 2549)