ดาวรุ่งลูกทุ่งไทยแลนด์ บันไดขั้นแรกนักร้องลูกทุ่ง
องค์ประกอบหนึ่งที่สำคัญของวงการลูกทุ่งก็คือนักร้อง การเสาะหาและโอกาสในการเป็นนักร้องลูกทุ่งในขณะนี้เปิดกว้างมากกว่าในอดีต จากเดิมที่กว่าจะเป็นนักร้องได้ต้องเหนื่อยยากในการไต่เต้า นักร้องรุ่นใหม่มีโอกาสในการตามฝันได้มากขึ้นและรวดเร็วขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
หางเครื่อง สีสันวงดนตรีลูกทุ่ง
การเกิดของ "หางเครื่อง" กับวงดนตรีลูกทุ่ง เป็นไปตามลักษณะของการแสดงบนเวที เครื่องดนตรีบนเวทีประกอบด้วยฉิ่ง ฉาบ กรับ กลอง ลูกแซ็ก ไม้แต๊ก และเครื่องให้จังหวะหลังวงดนตรี ส่วนนี้เป็นสีสันของวงดนตรี
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
โปงลางสะออน+หลวงไก่+จินตหรา = สูตรเด็ด อาร์สยาม
โปงลางสะออนอาจจะเป็นวงดนตรีวงเดียวที่ไม่ได้ออกอัลบั้มแต่มีคนเสิร์ตออกมาสร้างกระแสก่อน เพราะฐานเดิมของโปงลางก็คือ ผู้ชมในร้านอาหารที่พวกเขาตะเวนเล่นมานานกว่า 3 ปี ก่อนที่จะตัดสินใจเข้าสังกัดอาร์สยาม
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
ขอนไม้กับเรือ มิวสิกซีรี่ส์ 3 ตอนจบ
เครื่องมือในการส่งให้เพลงแรงขึ้น หรือดึงความสนใจของคนฟังได้มากขึ้นก็คือมิวสิกวิดีโอ ซึ่งมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องในช่วงหลัง และมิวสิกวิดีโอเป็นกลยุทธ์หนึ่งที่ค่ายอาร์สยามกำหนดไว้ว่าจะเป็นเหมือนกองหนุนส่งเพลงไปให้ถึงฝัน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
กฎ 3 ข้อของหนู มิเตอร์
หนู มิเตอร์ แม้จะไม่โด่งดังแบบไฟลามทุ่งเหมือนศิลปินคนอื่นๆ แต่ชื่อเสียงของเขาก็เกาะกินใจคนฟังเพลงลูกทุ่ง เพลงเพื่อชีวิต และมีแฟนเพลงขาประจำไม่น้อยหน้าใครเช่นกัน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
คนทำหนังที่มาทำลูกทุ่ง
ศุภชัย นิลวรรณ ไม่ได้เป็นนักร้องหรือเป็นนักดนตรี แต่เขาผ่านงานด้านภาพยนตร์ ละคร รายการโทรทัศน์มาก่อน การเข้ามาทำเพลงลูกทุ่งจึงกลายเป็นของใหม่ที่เขาต้องการทดลอง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
อาร์สยามได้เวลาบุกอีสาน
การเข้าสู่ธุรกิจเพลงลูกทุ่งของบริษัท อาร์สยาม บริษัทในเครือของอาร์เอส ก็เป็นอีกหนึ่งคำตอบที่ชี้ให้เห็นว่า เพลงลูกทุ่งในสายตาของบริษัทเทป น่าสนใจเพียงใด แม้จะถูกมองว่าไม่ทันสมัย แต่ผลที่ได้น่าสนใจยิ่งนัก
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
69 ปี ลูกทุ่งไทย
เพลงลูกทุ่งอยู่คู่กับคนไทยมาเป็นเวลานาน มีการค้นคว้าจากนักวิชาการซึ่งมีความเห็นตรงกันว่าน่าจะนับจุดเริ่มต้นจากเพลง "โอ้เจ้าสาวชาวไร่" ของเหม เวชกร แต่งขึ้นเมื่อปี 2481 จากนั้นเพลงลูกทุ่งก็เกิดขึ้นมา แม้ว่าจะลุ่มๆ ดอนๆ บ้างก็ตาม
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
สลา คุณวุฒิ ส่วนผสมของศิลปะ 75 ธุรกิจ 25
ในชั่วโมงนี้นักแต่งเพลงที่มีคนกล่าวถึงมากที่สุดก็คือ สลา คุณวุฒิ ที่ขณะนี้มีคำว่า "ครู" นำหน้า เพราะอาจมาจากเดิมมีอาชีพเป็นครูสอนหนังสือจนเรียกติดปาก หรืออาจเป็นคนแต่งเพลงให้กับนักร้องหลายคนจนได้รับการยกย่องว่าเป็นครูก็ได้
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)