“ไวเบรโต้ แซก” จับแรงบันดาลใจใส่แซกพลาสติก
จากวันที่มนุษย์คนหนึ่งนำทองเหลืองมาประดิษฐ์เป็นแซกโซโฟน โลกก็ยอมจำนนต่อเสน่ห์แห่งเสียงเครื่องเป่าทองเหลืองชิ้นนี้ พร้อมกับข้อกีดกั้นเรื่องราคามานานถึง 169 ปี กว่าที่จะมีมนุษย์อีกคนคิดเอาพลาสติกมาผลิตเป็นแซกโซโฟน เพื่อจุดประกายความหวังที่ทุกชนชั้นจะมีโอกาสรื่นรมย์กับความสุนทรีย์ในการเล่นแซกอย่างเท่าเทียมกัน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา ธันวาคม 2553)
กันตรึม...เสียงดนตรีแห่งอีสานใต้
ลักษณะเฉพาะของอีสานใต้ในเขตสุรินทร์ บุรีรัมย์ ศรีสะเกษ คือเป็นพื้นที่ที่มีชาติพันธุ์มอญ-เขมร อาศัยอยู่เป็นจำนวนมาก พวกเขามีภาษาและดนตรีที่เป็นเอกลักษณ์ของตัวเอง ซึ่งครั้งหนึ่งเคยส่งผลผลิตของกันตรึม ในนาม “ร็อคคงคย” วางตลาดทั่วประเทศมาแล้วเมื่อเกือบ 20 ปีก่อน และยังคงมีธุรกิจขายเสียงที่ทำตลาดท้องถิ่นในประเทศเพื่อนบ้านและตลาดที่ไกลถึงแคนาดา อเมริกา อย่างต่อเนื่องเงียบๆ มาถึงปัจจุบัน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา สิงหาคม 2553)
ดนตรีในยุคโลกาภิวัตน์
ความสัมพันธ์เชิงอำนาจในโลกสมัยใหม่ของวัฒนธรรมดนตรีนั้น ภายหลังสงครามเย็นในช่วงทศวรรษ 90 เป็นต้นมา รัฐทั่วโลกเปิดเสรีมากขึ้น เกิดกระแสโลกาภิวัตน์แพร่ออกไปอย่างกว้างขวางในทางดนตรีก็เกิดมิติข้ามชาติเช่นกัน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2552)
ดนตรีในรัฐเสรีนิยม
ดนตรีในรัฐเสรีนิยมจะขึ้นอยู่กับกลุ่มคนในรัฐ เกิดการต่อต้านวัฒนธรรมใหญ่ของกลุ่มวัฒนธรรมย่อยทางดนตรี เกิดวัฒนธรรมดนตรีในลักษณะการเมืองอัตลักษณ์ต่างๆ
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2552)
การควบคุมดนตรีในรัฐเผด็จการ
คิวบา ครึ่งแรกของศตวรรษที่ 20 มีนโยบายหวาดระแวงดนตรีแจ๊ซอยู่จนถึงปลายทศวรรษ 70 รัสเซีย ปี 1928 ประกาศว่าใครก็ตามที่นำเข้าหรือเล่นดนตรีแจ๊ซของอเมริกา จะถูกปรับ 100 รูเบิล และติดคุก 6 เดือน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2552)
ดนตรีกับการเมือง
เสียงดนตรีไอริชที่มีต้นกำเนิดมาจากแผ่นดินไอร์แลนด์ทางตอนเหนือของเกาะอังกฤษ แพร่สู่ชาวโลกให้ได้รับรู้ถึงตัวตนและความคับแค้นในยุคอาณานิคมที่ถูกอังกฤษเข้ารุกราน
(นิตยสารผู้จัดการ 360 องศา พฤษภาคม 2552)
อวสานดุริยบรรณ มายามรณะของชุมชนดนตรีไทย
ไม่ว่าจะเป็นใครก็ตามที่เคยได้แวะเวียนไปหาซื้อเครื่องดนตรีที่ร้าน "ดุริยบรรณ" ซึ่งตั้งอยู่บริเวณแยกคอกวัว ย่านบางลำพู เมื่อทราบข่าวการปิดกิจการตอนอายุครบ 90 ปีพอดี ต่างก็พูดได้แค่คำว่า "เสียดาย"
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2551)
ลูกทุ่งยุคต่อไป เดินหน้าหรือถอยหลัง
เมื่อเพลงลูกทุ่งถูกนำมาใช้เป็นเครื่องมือการตลาดรูปแบบใหม่ รวมกับที่เป็นเครื่องจักรในการหารายได้ของค่ายเทป การรักษาสถานภาพเอาไว้ให้อยู่ต่อไปก็เป็นสิ่งที่ทุกคนต้องการ แต่เป็นเรื่องธรรมดาของวงการเพลง มีขึ้นแล้วก็ต้องมีลง
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
เครื่องมือการตลาดที่ทรงพลัง
ความเปลี่ยนแปลงของเพลงลูกทุ่ง ทำให้สินค้าหลายประเภทต่างมองหาโอกาสใช้ช่องทางนี้มาเป็นเครื่องมือการตลาดใหม่ๆ รูปร่างหน้าตาของเพลงลูกทุ่งเปลี่ยนไปในทิศทางที่ทันสมัยขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)
ปั้นนักร้องลูกทุ่งด้วย SMS
เวทีดาวรุ่งลูกทุ่งไทยแลนด์จัดมาเป็นปีที่ 3 แนวคิดก็เหมือนกับเรียลลิตี้ โชว์ที่เกิดขึ้น อย่าง AF หรือเดอะ สตาร์ แต่รายการนี้คือ AF ในภาคลูกทุ่ง รายละเอียดปลีกย่อยแม้จะต่างกัน แต่จุดมุ่งหมายเดียวกัน
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2550)