หลากรูปแบบกับงานศิลป์
การเสพศิลป์เป็นไลฟ์สไตล์ของคนรุ่นใหม่ในสังคมไทย ที่ส่วนหนึ่งอาจจะกำลังถูกภาวะเศรษฐกิจเป็นตัวกำหนด
แต่ศิลปินก็ยังมีพลังผลักดันงานศิลปะออกมาอย่างต่อเนื่องในรูปแบบที่หลากหลายมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2544)
"About Studio" "About Cafe" About Art
ตึกเก่าที่เป็นโกดังเก็บของหลังหนึ่ง
บริเวณชุมชนวงเวียน 22 กรกฎา ถูกตกแต่งให้เป็น
"อะเบาท์คาเฟ่" "อะเบาท์สตูดิโอ" สถานที่ซึ่งเมื่อหลายคนเห็นแล้วต้องหยุดมอง
ตั้งคำถาม แล้วพยายามค้นหา
คำตอบกับกิจกรรมที่เกิดขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ ตุลาคม 2544)
งานศิลป์ของศิลปิน "ตัวปลอม"
ในยามเย็นของวันที่ 10 สิงหาคม 2544
ณ บริเวณหอศิลป์ สเปส ในซอยสุขุมวิท 63 เอกมัย
ฝูงชนเล็กๆ กลุ่มหนึ่งได้พากันมาชื่นชมผลงาน
ในโครงการศิลปะสู่สาธารณชน ครั้งที่ 1
แน่นอนผลงานวันนั้นไม่มีงานของศิลปินดังคนใดทั้งสิ้น เพราะนิทรรศการศิลปะครั้งนี้มีชื่อว่า
"ตัวปลอม"
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2544)
ศิลปะกับผู้คน
งานศิลปะกำลังเดินทางเข้าไปหาผู้คนมากขึ้น ทุกวันนี้ แกลเลอรี่ หอศิลป์
เกิดขึ้นแทบทุกหัวถนน แม้แต่ตามร้านอาหาร ร้านกาแฟ ร้านขายหนังสือ ปฏิทินงานศิลป์ที่ถูกส่งเข้ามาให้สื่อต่างๆ
ช่วยประชาสัมพันธ์ไม่ได้ลดน้อยลงเลย
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2544)
วิถีชีวิตแห่งสีน้ำ ของ อรรณพ สีสัจจา
โครงการศิลปสัญจร เป็นกระบวนการปลูกฝังเด็กๆ ให้รักงานศิลปะ ที่ "ครูเป้"
อรรณพ สีสัจจา ทำต่อเนื่องมานานกว่า 10 ปี ก่อนที่จะมาเปิด 1109 สตูดิโอ
โรงเรียนสอนวาดสีน้ำให้กับผู้คนต่างวัยหลากหลายอาชีพที่ต้องการมีความสุขอย่างง่ายๆ
(นิตยสารผู้จัดการ กรกฎาคม 2544)
"ตลาดศิลปะเกมลงทุนเพื่ออนาคต"
ทัศนะต่อ "งานศิลปะ" ได้กลายเป็น "สมบัติผลัดกันชม"
ที่เศรษฐีผู้มีอันจะกินแข่งกันให้ราคาสูงหลักแสนถึงหลักล้าน จนก่อให้เกิดกระบวนการสร้างราคา
และเปลี่ยนมือสู่คนในแวดวงการธุรกิจสะสมศิลป์ โดยทอผันว่าพรุ่งนี้สมบัติที่ครอบครองอยู่นี้จะมีค่ามหาศาล
พุทธิปัญญาของคนสะสมศิลป์เพื่อเก็งกำไร จึงเป็นเรื่องที่น่าจับตา !!
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2537)
"ศิลปินที่แสงอรุณ"
แรงตั้งใจจริงสนับสนุนคนทำงานศิลปะ-การละครด้วยการสร้างหอประชุมเพื่อเป็นเวทีเสนอผลงานดีมีคุณภาพต่อคนดูของศูนย์ศิลปะวัฒนธรรมแสงอรุณ
เป็นจริงขึ้นแล้วด้วยความพยายามมานานกว่า 5 ปี
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)