บีเอสเอ โปลีศจับขโมยที่ไม่จบสิ้น
ตราบใดที่การละเมิดลิขสิทธิ์ยังไม่หมดสิ้นไป ผู้ผลิตซอฟต์แวร์ก็ยังต้องวิ่งไล่กวดผู้ละเมิดลิขสิทธิ์เหล่านี้อย่างไม่รู้จักจบเช่นกันการปกป้องพิทักษ์สิทธิ์ของบรรดาผู้ผลิตซอฟต์แวร์มักจะอยู่ในรูปของการรวมพลังจัดตั้งเป็นกลุ่มพันธมิตรหรือองค์กร เช่นเดียวกับธุรกิจเทปเพลงหรือวิดีโอ ทั้งนี้เพื่อให้เกิดความคล่องตัว และมีประสิทธิภาพมากกว่าต่างคนต่างทำ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2539)
ซอฟท์แวร์ไทยยุคขุมทรัพย์ในกล่องสี่เหลี่ยม
ซอฟต์แวร์ในไทยจะถึงช่วงเวลาเปลี่ยนแปลงครั้งสำคัญ เมื่อ พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ฉบับใหม่ประกาศใช้ในวันที่
21 มีนาคม 2538 "ผู้จัดการ" เสนอภาพการพลิกโฉมอย่างรอบด้าน รวมทั้งกรณีศึกษาที่น่าสนใจ
ทั้งเรื่อง "การ์ตูนญี่ปุ่น" "สุนทราภรณ์" และตลาดซอฟต์แวร์สำคัญในอนาคตคือ
"เกม"
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2538)
กรรมวิธีการก๊อปปี้ที่ต้องแปรเปลี่ยน
ลูกค้าที่เดินขวักไขว่บนห้างพันธุ์ทิพย์พลาซ่านิยมการก๊อบปี้ซอฟต์แวร์ ยังไม่รู้เลยว่า
จะมี พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ฉบับใหม่ล่าสุดประกาศใช้ ลูกค้าเหล่านี้จึงยังคงถามหาซอฟต์แวร์ก๊อบปี้ชื่อดัง
ตามร้านค้าก๊อบปี้ซอฟต์แวร์ที่ไม่หวั่นเกรงต่อกฎหมาย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2538)
ขั้นตอนการดำเนินคดีหลัง พ.ร.บ.ใหม่บังคับใช้
เมื่อพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ประกาศใช้ ขั้นตอนในการดำเนินคดีกับผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์คงจะต้องเปลี่ยนแปลงตามลักษณะกฎหมายที่มีการคลุมถึงซอฟต์แวร์อย่างชัดเจน
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2538)
ซอฟท์แวร์เกม
ขณะที่ตลาดซอฟต์แวร์กำลังสนใจไปที่ซอฟต์แวร์เพื่อการทำงาน กรือกรณีมัลติมีเดียก็มักจะนึกถึงซอฟต์แวร์เพื่อการศึกษา
แต่ซอฟต์แวร์ที่ยิ่งใหญ่แท้จริงและเป็นอนาคตของโลกวิทยาการ อีกทั้งมีการเปลี่ยนแปลงที่เร็วมากนั้น
คือ ตลาดซอฟต์แวร์ "เกม" ซึ่งในไทยก็เป็นตลาดที่ใหญ่มาก แต่ดูเหมือนว่ายักษ์ใหญ่ยังให้ความสนใจน้อยมาก
เพราะคู่ต่อกรมีเยอะเหลือเกิน!
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2538)
"บิลล์ เกตต์ VS รัฐบาลสหรัฐฯ คู่ชกสมน้ำสมเนื้อ"
ใคร ๆ ก็รู้ดีว่าไมโครซอฟต์ของบิลลี่ เกตต์ คือบริษัทซอฟต์แวร์ที่ใหญ่ที่สุดในโลกจากการเป็นผู้ผลิตและเจ้าของระบบปฏิบัติการซอฟต์แวร์ที่เรียกว่า
MS-DOS และ WINDOW หัวใจของระบบปฏิบัติการในเครื่องคอมพิวเตอร์ กว่าล้านเครื่องทั่วโลก
แต่ความยิ่งใหญ่ของไมโครซอฟต์เปรียบเสมือนดาบ 2 คมที่พร้อมบาดมือเจ้าของได้ทุกเวลายามพลั้งเผลอ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2537)
"บิล เกทส์ มหาเศรษฐีหนุ่มสุด ๆ แห่งไมโครซอฟท์"
คนส่วนใหญ่ที่รู้จักกับบิล เกทส์ ตั้งแต่เขายังหนุ่มแน่นต่างมีความเห็นตรงกันว่าเขาจะต้องประสบความสำเร็จในอาชีพการงานอย่างแน่นอนถึงวันนี้ ด้วยวัยเพียง 36 ปี เกทส์ก็เป็นอย่างที่ทุกคนคาดหวังชื่อของเขาติดอันดับมหาเศรษฐีอเมริกันที่ร่ำรวยที่สุดไปแล้วตั้งแต่ช่วงต้นปี จากการที่กิจการ "ไมโครซอฟท์" ของเขาเติบโตอย่างไม่หยุดยั้ง
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2535)
"ซีพีเลือกซอฟต์แวร์ของไนเน็กซ์"
ในที่สุดการคัดเลือกผู้ร่วมดำเนินงานโครงการโทรศัพท์ 2 ล้านเลขหมายของเทเลคอมเอเซียได้เสร็จสิ้นลงในเดือนมกราคมที่ผ่านมา
หลังจากที่ใช้เวลาในการพิจารณาอยู่นานถึง 6 เดือนเต็ม และบริษัทแรกที่ได้รับการคัดเลือกเพื่อเจรจาทำสัญญาเป็นผู้ร่วมดำเนินการครั้งนี้คือบริษัท
ไนเน็กซ์ เนทเวิร์คซีสเต็มจากสหรัฐอเมริกา
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2535)
ตลาดซอฟต์แวร์ภาษีในสหรัฐฯ บูมจัด
เมษายนเป็นกำหนดเส้นตายให้ชาวอเมริกันผู้มีเงินได้ทุกคนต้องยื่นแบบแสดงรายการภาษีเงินได้ประจำปี ปรากฏการณ์หนึ่งที่เกิดขึ้น คือ ซอฟต์แวร์ภาษีบูมจัดขายกันแทบไม่ทัน เพราะปีนี้มีชาวอเมริกันราว 650,000 คนที่มีแนวโน้มยื่นแบบเสียภาษีด้วยการใช้โปรแกรมซอฟต์แวร์คอมพิวเตอร์
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2534)