ลีนุกซ์' ความร้อนแรงของซอฟต์แวร์ฟรี
ครั้งหนึ่งบิลเกตต์ ก็คงไม่นึกว่าตัวเองจะกลายเป็นมหาเศรษฐีติดอันดับโลก
จากการคิดค้นซอฟต์แวร์ระบบปฏิบัติการ ที่เครื่องพีซีเกือบทุกเครื่องจะต้องมีผลิตภัณฑ์
ของไมโครซอฟท์ติดตั้งอยู่
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2541)
ถึงทีของซอฟต์แวร์เกมของแท้ๆ บ้าง
หากไม่นับไมโครซอฟท์แล้วซอฟต์แวร์ยอดนิยมคงตกอยู่กับบรรดาซอฟต์แวร์เกมทั้งหลาย
เพราะแทบไม่มีคอมพิวเตอร์เครื่องไหนที่จะไม่มีบรรดาเกมต่างๆ นี้บรรจุอยู่
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2541)
บีเอสเอกับเกมไล่ล่าซอฟต์แวร์เถื่อน
จัดการฝ่ายสารสนเทศขององค์กรเอกชนและหน่วยงานราชการของเมืองไทยในเวลานี้
นอกจากต้องใช้เวลาจัดการไอทีภายในองค์กรหรือแก้ปัญหาระบบคอมพิวเตอร์ แต่เขาเหล่านั้นยังต้องแบ่งเวลาส่วนหนึ่งมาตรวจสอบ
เพื่อไม่ให้ซอฟต์แวร์ก๊อปปี้หลุดรอดอยู่ในเครื่องพีซีที่ตั้งเรียงรายอยู่ในบริษัท
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2541)
'โนเวลล์' เกือบกลายเป็นพระรอง
แปลกแต่จริง แม้บริษัทโนเวลล์ (Novell Inc.) จะครองตลาดระบบปฏิบัติการบนเครือข่ายในไทยอยู่ถึง
90% แต่หากพิจารณาจากกระแสข่าว ปรากฏว่า วินโดวส์ เอ็นที ของไมโครซอฟท์กลับกลายเป็นผู้ชนะทั้งที่
วินโดวส์ เอ็นที ยังมีส่วนแบ่งการตลาดไม่เกิน 5% และก็ยังไม่แน่ว่าในปีนี้
ไมโครซอฟท์จะสามารถโค่นโนเวลล์ได้ตามราคาคุยหรือไม่?
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2540)
"อินฟอร์มิกซ์เตรียมแซงออราเคิล"
ช่วงปลายปี 2539 ต่อต้นปี 2540 ดูเหมือนเสียงท้ารบท้าดวลจะดังสนั่นสังเวียนคอมพิวเตอร์
บริษัทใดเงียบเฉยก็ชักจะไม่ทันสมัย การประกาศโค่นแชมป์แทบจะกลายเป็นจารีตในธุรกิจนี้ไปเสียแล้ว
เข้าใจว่าคงจะติดนิสัยมาจากคนจำพวก บิล เกตส์ แห่งไมโครซอฟท์ และ ลาร์ลี่
เอลิสัน ผู้นำแห่งออราเคิลนั่นแหละ
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2540)
เมื่อไทยสงวนฯ เล็งตลาดซอฟต์แวร์การศึกษา ช้า ๆจะไม่ได้พร้าเล่มงาม
แม้ว่ากลุ่มบริษัทไทยสงวนวานิชของวิกรม ชัยสินธพ เกิดและเติบโตมากับธุรกิจขายสินค้าอุตสาหกรรม
แต่ประสาวิกรมแล้ว เขาไม่ยอมหยุดนิ่งอย่างแน่นอน จึงทำให้ไทยสงวนวานิชฯ ในวันนี้
ขยับขยายเครือข่ายไปยังงานด้านโทรคมนาคมสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือไอที
ตามกระแสตลาดและความอยู่รอด
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2540)
"ออราเคิลทุกหนทุกแห่ง" คงไม่หมดแรงเสียก่อน
น่าสนุกอยู่ไม่น้อย เมื่อนิตยสาร SAN FRANCISCO FOCUS นำเสนอภาพปกเป็นรูปลาร์ลี่
เอลิสัน ประธานเจ้าหน้าที่บริหารของบริษัทออราเคิล โดยให้อยู่ในชุดซามูไร
ในขณะที่บริษัท ออราเคิล ซิสเต็มส์ (ประเทศไทย) ก็เริ่มรุกตลาดในลีลาเร้าใจกว่าทุกปี
เร้าใจแค่ไหน ? ก็คงเหมือนรูปของเอลิสันนั่นแหละ !
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2540)
สหวิริยาฯ เปิดตัว SOFTWARE ใหม่ในงาน APPLE WORLD'97 ครั้งที่ 10
"ในอดีตแมคอินทอชมีจุดด้อยในเรื่องของโปรแกรมสำหรับธุรกิจ แต่ในปีนี้เราได้มีการพัฒนา
DATA BASE โปรแกรม FILE MAKER PRO ซึ่งเป็นโปรแกรมที่มีชื่อเสียงมาก โดยร่วมมือกับ
CLARIS พัฒนาเป็นโปรแกรมภาษาไทยฉบับสมบูรณ์ และจะออกมาแสดงในงาน APPLE WORLD'97
(นิตยสารผู้จัดการ กุมภาพันธ์ 2540)
เซ สุจินตัย ซอฟต์แวร์เถื่อนระวังให้ดี 'เอสพีเอ' มาแล้ว
หลังจากปล่อยให้กลุ่มบิสซิเนส ซอฟท์แวร์ อะไลแอนซ์ หรือบีเอสเอ พันธมิตรธุรกิจซอฟต์แวร์นำร่องเข้ามาบุกเบิกฟาดฟันกับบรรดาซอฟต์แวร์เถื่อนกันไปแล้ว ก็ถึงคราวของซอฟต์แวร์ พับลิชเชอร์ แอสโซซิเอชั่น หรือชื่อย่อว่า เอสพีเอ จะเข้ามาสร้างความหนาว ๆ ร้อน ๆ ให้กับซอฟต์แวร์เถื่อนเสียที
(นิตยสารผู้จัดการ มกราคม 2540)
ลิขสิทธิ์ซอฟต์แวร์กฎหมายที่ยังเอื้อมไม่ถึง
เกือบ 2 ปีเต็มที่กฎหมายลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 บังคับใช้ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นมากมายในธุรกิจซอฟต์แวร์ฉุดรั้งให้ธุรกิจที่แทบหามูลค่าไม่ได้กลายเป็นธุรกิจที่ทำเม็ดเงินก้อนโต กลุ่มองค์กรซอฟต์แวร์ใหม่ ๆ ตบเท้าเข้าไทย เพิ่มพิทักษ์สิทธิ์แต่เหตุการณ์นี้เกิดขึ้นในเวลาเพียงแค่ช่วงสั้น ๆ เท่านั้น เมื่อตัวเลขซอฟต์แวร์ก๊อบปี้ไม่ลดลงร้านค้าซอฟแวร์เถื่อนบนห้างพันธุ์ทิพย์กยังมีขายกันดาษดื่น ไมโครซอฟท์ และผู้ค้าซอฟต์แวร์เริ่มออกอาการ หรือกฎหมายจะไม่ศักดิ์สิทธิ์เพียงพอ
(นิตยสารผู้จัดการ ธันวาคม 2539)