เมื่อธุรกิจขาดเงินทุน AJF ช่วยคุณได้
บทบาทของบริษัทหลักทรัพย์จัดการกองทุนกำลังเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ ในภาวะที่สภาพคล่องกำลังล้นแบงก์
นอกจากการออกกองทุนมาดูดสภาพคล่องออกไปแล้ว ยังมีบทบาทอื่นที่ผู้จัดการกองทุนเหล่านี้ยังสามารถเล่นได้อีก
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2546)
ปิยสวัสดิ์ อัมระนันทน์ บทบาทใหม่
เขาเป็นคนทำงานเชิงยุทธศาสตร์ในภาคราชการมากว่า 20 ปี เมื่อก้าวมาสู่ภาคเอกชนครั้งแรก ย่อมเป็นงานที่มีความหมายกับเขาพอสมควร ในที่สุดเขาก็ตัดสินใจมาทำงานกับคนที่คุ้นเคยและเข้าใจกันดี ไม่เพียงแนวคิดและอุปนิสัย เขายังมีความแนบแน่นระดับรากเหง้า แม้ทั้งสองจะกล่าวเหมือนกันว่า เป็นญาติห่างๆ แทบจะไม่เรียกว่าญาติ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
วนา พูลผล New CEO
สำหรับแวดวงธุรกิจกองทุนรวมแล้วไม่มีใครไม่รู้จัก
วนา พูลผล ผู้บริหารกองทุนรุ่นใหม่ที่น่าจับตามอง
อย่างมาก ปัจจุบันเขากำลังพิสูจน์ฝีมือตนเอง
ครั้งสำคัญที่สุดในชีวิตการทำงานกับ บลจ.บีโอเอ
(นิตยสารผู้จัดการ สิงหาคม 2546)
American Financial ลงทุนกว้านซื้อสาขาแบงก์
กองทุนรวมเพื่อการลงทุนในอสังหาริมทรัพย์ชื่อ American Financial Realty
Trust แห่งเมือง Jenkin รัฐ Pennsilvania หวังทำกำไรงดงามจากกระแสแบงก์บูมขยายสาขาระลอกใหม่
ด้วยการลงทุนกว้านซื้อสาขาธนาคารต่างๆ แล้วนำกลับมาให้ธนาคารนั้นๆ เช่า ซึ่งช่วยให้ธนาคารสามารถผ่อนคลายภาระการถือครองทรัพย์สินระยะยาวลงไปได้
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2546)
เสือกำลังตื่น?
กับวิกฤติแห่งความน่าเชื่อถือของบรรษัทอเมริกัน ที่สร้างความเจ็บปวดให้กับตลาด
ไม่แปลกใจที่นักลงทุน
เริ่มแสวงหาความมั่งคั่งกับตลาดหุ้นภายในภูมิภาคเอเชีย
โดยเฉพาะบรรดากองทุนรวมที่เริ่มมีความสุขกับ
ตัวเลขผลประกอบการ
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2545)
ความจริง ความหวัง ความอยู่รอด
ไม่มีอะไรดีไปกว่าการพยายามรักษาความน่าเชื่อและความคาดหวัง ให้กับนักลงทุนจากธุรกิจจัดการกองทุนรวมยุคปัจจุบัน ดูเหมือนว่าโลกกำลังเล่นตลกกับบลจ.ไทยพาณิชย์ที่ครั้งหนึ่งออกกองทุนหุ้นทุน
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2545)
เกษียณอายุอย่างมั่นคง
คนวัยเกษียณจากการทำงานดูไม่ค่อยตื่นเต้นกับอนาคต
เพราะสังคมภูมิภาคเอเชียเป็นสังคมแห่งการเกื้อกูล
บุตรหลานต้องเลี้ยงดู ฉะนั้นการวางแผนเกษียณที่ดีที่สุด คือ
การมีลูกสาวมากๆ ก็เป็นหลักประกันเพียงพอแล้ว
(นิตยสารผู้จัดการ กันยายน 2544)
ทรานสแพ็ค-เวสต์บรู๊ค บุกไทย
นอกจากการขาดสภาพคล่องของบริษัทแล้ว ทัศนคติความเป็นมิตรของประเทศไทยที่มีการปฏิบัติต่อบริษัทต่างชาติอย่างเท่าเทียมกับบริษัทท้องถิ่นในประเทศ เป็นปัจจัยที่ช่วยกระตุ้นให้นักลงทุนเข้ามาลงทุนในรูปแบบร่วมลงทุน (venture capital) จากต่างประเทศถ่ายเทเข้ามาในประเทศมากขึ้น
(นิตยสารผู้จัดการ มิถุนายน 2543)
ไทยทรัสต์ฟันด์เกิดผิดจังหวะ
บลจ.ไทยทรัสต์ฟันต์ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อดึงเม็ดเงินจากนักลงทุนต่างประเทศ มีอายุครบ 3 ปี แต่ยังไม่ประสบความสำเร็จเท่าใดนัก
(นิตยสารผู้จัดการ เมษายน 2543)
ซีวีซี รุกลงทุนในเอเชียแปซิฟิก
นับตั้งแต่ปี 1994 เป็นต้นมา กระแสเงินทุนต่างประเทศที่หลั่งไหลเข้าสู่ประเทศเกิดใหม่ในเอเชีย มีอัตราการเติบโตที่สูงขึ้นอย่างมากรวมทั้งไทยด้วย
(นิตยสารผู้จัดการ มีนาคม 2543)